Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73471
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ | - |
dc.contributor.advisor | บังอร ศุภวิทิตพัฒนา | - |
dc.contributor.author | เปรียบแก้ว ฝาระมี | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-06-28T10:26:04Z | - |
dc.date.available | 2022-06-28T10:26:04Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73471 | - |
dc.description.abstract | Health promotion behaviors are actions that effect both physical and psychological health conditions. Appropriate health promotion behaviors among adolescent mothers result in good health. The purpose of this study was to explore factors predicting health promotion behaviors among adolescent mothers. The participants were 120 adolescent mothers aged between 13 and 19 years old, who attended Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, Health Promotion Hospital, Health Promotion Center First Region, Chiang Mai, Lamphun Hospital and Lampang Hospital for postpartum checkups at four to eight weeks postpartum from June 2019 to February 2020. The participants were purposively selected based on inclusion criteria. The research instruments consisted of the Personal Data Record Form, the Health Promoting Behaviors Among Adolescent Mothers Questionnaire and the Perceived Self-efficacy Questionnaire developed by Juadnapa Sangsawang, Bungorn Supavititpatana, and Punpilai Sriarporn (2016), the Perceived Health Status Questionnaire developed by Priabgeaw Faramee, Punpilai Sriarporn, and Bungorn Supavititpatana (2019), and the Interpersonal Influence Questionnaire developed by Supaporn Nunta, Punpilai Sriarporn, and Bungorn Supavititpatana (2017). Data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple linear regression. The results revealed that perceived health status and perceived self-efficacy were significantly predictive of health promotion behaviors among adolescent mothers at 70% (R2 = .70, p < .01), but interpersonal influence could not predict health promotion behaviors among adolescent mothers. The results of this study can be used as data for tailoring interventions in enhancing perceived health status and perceived self-efficacy to promote health promotion behaviors among adolescent mothers. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในมารดาวัยรุ่น | en_US |
dc.title.alternative | Factors Predicting Health Promotion Behaviors Among Adolescent Mothers | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | มารดาวัยรุ่น -- ไทย(ภาคเหนือ) | - |
thailis.controlvocab.thash | สุขภาพ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเป็นการกระทำ ที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องในมารดาวัยรุ่นส่งผลให้เกิดภาวะสุขภาพที่ดี การวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในมารดาวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างคือ มารดา วัยรุ่นอายุระหว่าง 13-19 ปี ที่อยู่ในระยะ 4-8 สัปดาห์หลังคลอด และมารับบริการตรวจหลังคลอด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัย ที่ 1 เชียงใหม่ โรงพยาบาล ลำพูน และโรงพยาบาลลำปาง จำนวน 120 ราย ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในมารดาวัยรุ่น และแบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ที่พัฒนาโดย เจิดนภา แสงสว่าง, บังอร ศุภวิทิตพัฒนา, และ พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ (2559) แบบสอบถามการรับรู้ภาวะสุขภาพ ที่พัฒนาโดย เปรียบแก้ว ฝาระมี, พรรณพิไล ศรีอาภรณ์, และ บังอร ศุภวิทิตพัฒนา (2562) และแบบสอบถามอิทธิพลระหว่างบุคคลที่ พัฒนาโดย สุภาภรณ์ นันตา, พรรณพิไล ศรีอาภรณ์, และ บังอร ศุภวิทิตพัฒนา (2560) วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ภาวะสุขภาพและการรับรู้สมรรถนะแห่งตน สามารถทำนายพฤติกรรม ส่งเสริมสุขภาพในมารดาวัยรุ่นได้ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .70, p < .01) แต่อิทธิพล ระหว่างบุคคลไม่สามารถทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในมารดาวัยรุ่น ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลสาหรับการออกแบบโปรแกรมเสริมสร้างการรับรู้ภาวะสุขภาพและการรับรู้สมรรถนะแห่งตน เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในมารดาวัยรุ่น | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
591231071 เปรียบแก้ว ฝาระมี.pdf | 2.76 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.