Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพุทธิพล ดำรงชัย-
dc.contributor.authorเขตโสภณ ภิญโญen_US
dc.date.accessioned2022-06-27T10:34:31Z-
dc.date.available2022-06-27T10:34:31Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73460-
dc.description.abstractThis research aims to improve a local geoid model in Thailand using least-squares collocation with parameters. The model was computed by integrating the local gravimetric geoid model, THAI17G, and GNSS/leveling co-points of the Royal Thai Survey Department, referred to Ko Lak national vertical datum. The 399 co-points were divided into 299 points to calculate conversion or correction surface between THAI17G and Ko Lak vertical datum and 100 points for geoid accuracy testing. The improved geoid model was obtained by adding the conversion surface to THAI17G and then compared with the geoid model using 2 method: (1) polynomial interpolation and (2) leastsquares collocation. In addition, it was compared with THAI17G and EGM2008. The assessments were done in 5 separated areas, having different topographic. Each study area influenced the accuracy of the improved geoid model for each method of the calculation. The study results show that the geoid model using the least-squares collocation with parameters method can improve geoid heights' accuracy the most. The model has a standard deviation of ± 3.9cm, representing 34 percent improved accuracy.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับปรุงแบบจำลองยีออยด์ท้องถิ่นในประเทศไทยโดยลีสท์สแควร์คอลโลเคชั่นสำหรับการหาความสูงของภูมิประเทศen_US
dc.title.alternativeThe Improvement of local geoid model in Thailand using least squares collocation for topographic height determinationen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashแบบจำลองยีออยด์-
thailis.controlvocab.thashธรณีสัณฐาน-
thailis.controlvocab.thashธรณีสัณฐานวิทยา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงแบบจำลองยีออยด์ ท้องถิ่นของประเทศไทยให้มีความถูกต้องแม่นยำมากขึ้น โดยใช้การปรับแก้แบบลีสทัสแควร์คอลโลเคชั่นพร้อมพารามิเตอร์ ซึ่งในการคำนวณหาแบบจำลองยีออยด์ด้วยวิธีลีสห์สแควร์คอลโลเคชั่นพร้อมพารามิเดอร์ จะนำแบบจำลองยีออยด์ชนิดความโน้มถ่วงพิภพของประเทศไทย ที่มีชื่อว่า THAI17G ผนวกเข้ากับข้อมูลหมุดร่วม GNsS/eveling ที่มีการอ้างอิงความสูงกับโครงข่ายหมุดหลักฐานทางดิ่งแห่งชาติเกาะหลักที่จัดทำโดยกรมแผนที่ทหารที่กระจายตัวอยู่ทั่วประเทศไทย จำนวน 399 หมุด โดยแบ่งเป็นใช้สำหรับการคำนวณหาแบบจำลองยีออยด์ จำนวน 299 หมุด เพื่อหาผิวปรับแก้หรือผิวปรับเปลี่ยน และนำผิวปรับแก้นั้นปรับปรุงแบบจำลองยีออยด์ให้มีความถูกต้องดีขึ้น และแบบจำลองยีออยด์ที่ได้รับการปรับปรุงนี้ได้ถูกนำมาทดสอบความถูกต้องกับหมุดร่วมที่เหลือ จำนวน 100 หมุด นอกจากนี้ยังทำการเปรียบเทียบกับอีก 2 เทคนิคการปรับปรุงแบบจำลองยีออยค์ คือ (1) การประมาณค่าในช่วงเชิงพหุนาม (Polynomial interpolation) และ (2) ลีสท์สแควร์คอลโลเคชั่น (Least-squares collcation) และอีก 2 แบบจำลองยีออยด์ คือ แบบจำลองยีออยด์สากล EGM2008 และแบบจำลอง THAI17G โดยการประเมินความถูกต้องของแบบจำลองยีออยด์ ผู้วิจัยได้แบ่งพื้นที่ที่ทำการศึกษาออกเป็น 5 พื้นที่ตามลักษณะภูมิประเทศที่แตกต่างกัน ซึ่งแต่ละพื้นที่ที่ศึกษามีอิทธิพลต่อความถูกต้องของแบบจำลองยีออยด์ที่ได้รับการปรับปรุงในแต่ละวิธีการที่เลือกใช้ในการคำนวณ ผลจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการนำเอาหมุดร่วม GNSS/eveling มาผนวกเข้ากับแบบจำลองยีออยด์ชนิดความโน้มถ่วงพิภพโดยใช้วิธีลีสทัสแควร์คอลโลเคชั่นพร้อมพารามิเตอร์ สามารถปรับปรุงแบบจำลองยีออยด์ให้มีความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยแบบจำลองที่ได้รับการพัฒนามีส่วนเบื่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ ±39 เซนติเมตร คิดเป็นการปรับปรุงความถูกต้องเท่ากับ 34 เปอร์เซ็นต์en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631078 เขตโสภณ ภิญโญ.pdf5.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.