Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73455
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา โชคถาวร-
dc.contributor.advisorชูเกียรติ ชัยบุญศรี-
dc.contributor.authorกัญญารัตน์ แซ่ตั้งen_US
dc.date.accessioned2022-06-27T10:01:04Z-
dc.date.available2022-06-27T10:01:04Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73455-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study were 1) to investigate the tourism infrastructure, impacts from tourism and SWOT analysis of tourism management of Ban Mong Doi Pui community, 2) to study the behavior and satisfaction of tourists towards tourism management of Ban Mong Doi Pui community, and 3) to study and analyze participatory approaches to sustainable tourism management in Ban Mong Doi Pui community. A questionnaire was used as a research instrument for data collection. The sample of this study was those involved with Ban Mong Doi Pui tourism management, comprising 240 people, 5 government officials, and 120 tourists. The results of this study indicated that the sample people and government officials rated the quality scale of tourism infrastructure in terms of natural resources, cultural and artificial objects, traditions, cultures and festivals and activities from the high to the highest levels, followed by local product distributing place, which gained the high quality score. The service aspect gained from the low to the moderate levels of quality score. Furthermore, participation in sustainable tourism management of Ban Mong Doi Pui community indicated that participation in opinion proposal, planning and decision-making, and evaluation of the sample people and government officials were rated at relatively low level. The participation in implementation and operation was rated at the moderate level. The participation in taking and sharing benefits of sample people was rated at the relatively high level. However, the participation of the sample government officials was rated from the lowest to the moderate levels. From SWOT analysis, the strengths of Ban Mong Doi Pui community included the fertility of forests, the unique history and tribe background. The weakness was the lack of unity or participation in sustainable tourism management of people and government officials. The threat was restricted space without capacity to be expanded to accommodate tourists and healthcare or hospital areas. The opportunities were low-cost publicity via social media, including assistance from the private and government sectors. The problems included insufficient space to accommodate tourists. In terms of behavior of tourists, most of them traveled without staying overnight, traveled only once or twice a year. They were single people, students, 290-30 years old, graduated with a bachelor’s degree, earned monthly income of 10,001 - 15,000 baht. They traveled by a private car with friends, co-workers, and family members. They knew tourist attractions through website, television, and magazine, respectively. Most of them prioritized convenient travel, followed by the quality of tourist attractions, and environment.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของชุมชนและการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนบ้านม้งดอยปุยen_US
dc.title.alternativeCommunity participation and sustainable tourism management of Ban Mong Doi Pui Communityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน -- ดอยปุย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน-
thailis.controlvocab.thashดอยปุย (เชียงใหม่) -- การท่องเที่ยว-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง “การมีส่วนร่วมของชุมชนและการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนบ้านม้งดอยปุย” มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของการท่องเที่ยว ผลกระทบที่เกิดจากการท่องเที่ยว และวิเคราะห์ SWOT การจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านม้งดอยปุย 2) ศึกษาถึงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านม้งดอยปุย 3) ศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวโดยการมีส่วนร่วมในชุมชนบ้านม้งดอยปุยอย่างยั่งยืน โดยใช้แบบสอบแบบสอบถาม (Questionnaire) ไปยังกลุ่มผู้มีส่วนร่วมการจัดการการท่องเที่ยวบ้านม้งดอยปุย ได้แก่ กลุ่มประชาชน จำนวน 240 คน กลุ่มเจ้าหน้าที่ภาครัฐจำนวน 5 คน และ กลุ่มนักท่องเที่ยวจำนวน 120 คน ผลการศึกษาพบว่าประชาชนและเจ้าหน้าที่ให้คะแนนคุณภาพโครงสร้างพื้นฐานของการท่องเที่ยวด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านวัฒนธรรมและสิ่งที่สร้างขึ้นมา ด้านประเพณี วัฒนธรรมและเทศกาล และด้านกิจกรรมมากถึงมากที่สุด รองลงมาคือสถานที่จำหน่ายสินค้าพื้นเมืองที่ได้รับคะแนนคุณภาพมาก ส่วนด้านบริการได้คะแนนคุณภาพน้อยถึงปานกลาง การมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนบ้านม้งดอยปุย พบว่าการมีส่วนร่วมด้านเสนอความคิดเห็น การวางแผน และการตัดสินใจ รวมทั้งด้านประเมินผลและติดตามผลของประชาชนและเจ้าหน้าที่มีคะแนนค่อนข้างน้อย ส่วนการมีส่วนร่วมด้านการดำเนินงาน และปฏิบัติการมีคะแนนปานกลาง และการมีส่วนด้านการรับ และแบ่งปันผลประโยชน์ของประชาชนมีคะแนนค่อนข้าง มากส่วนเจ้าหน้าที่มีคะแนนน้อยที่สุดถึงปานกลาง ด้านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของ บ้านม้งดอยปุยพบว่าจุดแข็งคือความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้ การมีเอกลักษณ์ทางด้านประวัติศาสตร์และความเป็นมาของชนเผ่าที่ไม่เหมือนใคร จุดอ่อนคือไม่มีความสามัคคีกันหรือการไม่มีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประชาชนและเจ้าหน้าที่ภาครัฐ อุปสรรคคือพื้นที่ที่มีอยู่จำกัดไม่สามารถพัฒนาขยายพื้นที่เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวและพื้นที่บริการดูแลสุขภาพหรือโรงพยาบาล โอกาสคือการประชาสัมพันธ์ผ่านทางโซเชียลมีเดียที่ใช้ต้นทุนน้อย รวมไปถึงการช่วยเหลือจากภาคเอกชนและภาครัฐ ส่วนปัญหาคือพื้นที่ไม่เพียงพอต่อการรองรับนักท่องเที่ยว ส่วนพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวผลการศึกษาพบว่านักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มาเที่ยวโดยไม่ค้างคืน มาเพียง 1 ถึง 2 ครั้งต่อปี มีสถานภาพโสดส่วนใหญ่เป็นนักเรียนนักศึกษา อายุ 20 – 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือน 10,001 – 15,000 บาท มาโดยรถยนต์ส่วนตัวกับเพื่อน เพื่อนร่วมงาน และครอบครัว โดยรู้จักสถานที่ท่องเที่ยวผ่านทางว็บไซด์ โทรทัศน์ และหนังสือนิตยสาร ตามลำดับ โดยนักท่องเที่ยวให้ความสำคัญในการเลือกสถานที่ตามลำดับคือความสะดวกในการเดินทาง คุณภาพของสถานที่ท่องเที่ยว และสิ่งแวดล้อมen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590432018 กัญญารัตน์ แซ่ตั้ง.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.