Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิราคม สิริศรีสกุลชัย-
dc.contributor.advisorเริงชัย ตันสุชาติ-
dc.contributor.advisorณฉัตรชพงษ์ แก้วสมพงษ์-
dc.contributor.authorกรรณิการ์ ทรงพินิจen_US
dc.date.accessioned2022-02-04T08:52:01Z-
dc.date.available2022-02-04T08:52:01Z-
dc.date.issued2020-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72201-
dc.description.abstractThe objective of this study were to study about the relationship between economic and social factors and number of depression patient and number of suicide in Thailand. The relationship will indicate what and how the factor effect to number of depression patient and number of suicide. This study use data from Thailand National Statistical Office and Department of Mental Health of Thailand from year 2005-2018 and analysis by 3 model are 1.) Pool OLS Regression Model 2.) Fixed Effect Regression Model and 3.) Random Effect Regression Model then use the Hausman test to test the model. The result of this study showed that don’t have any economic and social factor related to number of depression patient but for number of suicide has 2 factors related including; Gross Provonce Product (GPP) related to number of suicide in the opposite direction at 0.05 of statistical significance. This result show when the Gross Province Product (GPP) decrease its effect to the number of suicide increase. When the Gross Province Product decrease 1 THB. Its effect to the number of suicide increase 0.0000228 person. Household debt related to number of suicide in the same direction at 0.05 of statistical significance. This result show when the household debt increases its effect to the number of suicide increase. When the household debt increase 1 THB. Its effect to the number of suicide increase 0.000012 person.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคซึมเศร้าen_US
dc.subjectโรคซึมเศร้าen_US
dc.subjectการฆ่าตัวตายen_US
dc.titleผลกระทบจากปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมต่อจำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและผู้ที่ฆ่าตัวตายในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe Impact of macroeconomic and social factors on depression patients and suicide in Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมกับจำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและจำนวนผู้ฆ่าตัวตายในประเทศไทย ซึ่งความสัมพันธ์นั้นจะบ่งบอกว่าปัจจัยใดส่งผลกระทบต่อจำนวนของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและผู้ที่ฆ่าตัวตายในประเทศไทยอย่างไร โดยใช้วิธีรวบรวมข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและกรมสุขภาพจิต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 – 2561 และใช้การวิเคราะห์ 3 วิธี คือ 1.) วิธี Pool OLS Regression Model 2.) วิธี Fixed Effect Regression Model และ 3.) วิธี Random Effect Regression Model แล้วจึงทำการทดสอบแบบจำลองด้วยวิธี Huasman Test ผลการศึกษาพบว่าไม่มีปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่ผู้วิจัยเลือกมามีความสัมพันธ์กับจำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ส่วนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีความสัมพันธ์กับจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อคนและหนี้ครัวเรือนเฉลี่ย ซึ่งผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อคนมีความสัมพันธ์กับจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายในทิศทางตรงกันข้าม ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 สะท้อนให้เห็นว่าจังหวัดที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อคนลดลงจะส่งผลให้มีจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายเพิ่มมากขึ้น คือถ้าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อคนลดลง 1 บาท จะส่งผลให้มีผู้ที่ฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น 0.0000228 คน หนี้ครัวเรือนเฉลี่ยมีความสัมพันธ์กับจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายในทิศทางเดียวกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 สะท้อนให้เห็นว่าจังหวัดที่มีหนี้ครัวเรือนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้มีตำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายเพิ่มมากขึ้น คือถ้าหนี้ครัวเรือนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 1 บาทจะส่งผลให้มีผู้ที่ฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น 0.000012 คนen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611632001 กรรณิการ์ ทรงพินิจ.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.