Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72197
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เขมกร ไชยประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | ภิญโญ เกิดเดโช | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-02-04T08:43:21Z | - |
dc.date.available | 2022-02-04T08:43:21Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72197 | - |
dc.description.abstract | The purposes of the development of inventory management of Sci and Med Limited Partnership were 1) to study and improve the inventory management system 2) to increase the efficiency of inventory management system 3) to save the total cost and 4) to meet the products’ demands. The ABC Analysis theory has been implemented and grouped by the level of importance of each product. The products that are categorized in group A were used to calculate the Economic Order Quantity (EOQ), safety stock level and the appropriate Reorder point (ROP). The study found out that products has 5 categories of products available in 2017 – 2019. The researcher brought all these categories to analyze for a purpose to separate the valuable products by using the ABC Analysis theory. It was separated into three parts: group A, there were 31 items which is cost 5,294,413.33 THB and it represents 74.98 percent of the overall products in the study. The researcher analyzed the products in group A to EOQ and ROP in order to specify the service level at 99 percent. The adjusted EOQ by actual purchase agreement clause were used in the study. The analysis would calculate from the ordering cost and the holding cost to find the total cost and to compare the result before and after researching. The results show that the ordering costs decreased by 40,552.28 THB from 206,872.75 THB to 166,320.47 THB due to the decreased number of orders. While the holding cost decreased by 14,056.63 THB from 274,074.80 THB to 260,018.17 THB due to fewer stock in the inventory. Although there is an increase in the opportunity cost by 6,302.25 THB the total cost was relatively small. As a result, the total cost decreased by 48,306.65 THB from 480,947.54 THB to 432,640.89 THB. The result of Reorder Point (ROP) found out that the reorder point was higher when compared with the original working form. However, the average inventory decreased by 14 items from 420 items to 406 items which the average inventory value decreased by 75,278 THB from 727,796 THB to 1,652,518 THB per year. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การจัดการสินค้าคงคลังของห้างหุ้นส่วนจำกัด ซายน์ แอนด์ เมด | en_US |
dc.title.alternative | Inventory management of Sci and Med Limited Partnership | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้เป็นการศึกษาการจัดการสินค้าคงคลังของห้างหุ้นส่วนจำกัด ซายน์ แอนด์ เมด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบการบริหารสินค้าคงคลังของห้างหุ้นส่วนจำกัด ซายน์ แอนด์ เมด ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยให้มีต้นทุนต่ำที่สุด ในขณะที่มีปริมาณสินค้าเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า โดยใช้การแบ่งประเภทสินค้าคงคลังด้วยการวิเคราะห์ ABC แล้วนำมาคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) เพื่อหาปริมาณการจัดเก็บสินค้าคงคลังและจุดสั่งซื้อใหม่ (ROP) ที่เหมาะสมกับปริมาณการสั่งซื้อสินค้า ผลการศึกษาในการวิเคราะห์ข้อมูลยอดขายย้อนหลังของห้างหุ้นส่วนจากัด ซายน์ แอนด์ เมด ในปี 2560 ถึง 2562 พบว่าทางกิจการมีสินค้าทั้งหมด 5 หมวด เมื่อนำมาวิเคราะห์แบ่งประเภทสินค้าคงคลังด้วยการวิเคราะห์ ABC แล้ว พบว่า สินค้าในกลุ่ม A จำนวนสินค้า 31 รายการ มีมูลค่าของสินค้าเท่ากับ 5,294,413.33 บาท คิดเป็นร้อยละ 74.98 ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด จากนั้นนำสินค้าในกลุ่ม A มาทำการคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด แล้วคำนวณหาจุดสั่งซื้อใหม่ (ROP) โดยกำหนดระดับการให้บริการที่ร้อยละ 99 ผลการคำนวณพบว่าการเปรียบเทียบต้นทุนรวม ทั้งก่อนการศึกษาและหลังจากการศึกษาประยุกต์ใช้ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่ปรับให้ตรงกับความเป็นจริง พบว่าต้นทุนการสั่งซื้อลดลง 40,552.28 บาท จาก 206,872.75 บาท เป็น 166,320.47 บาท เนื่องจากมีจำนวนครั้งการสั่งซื้อที่ลดลง ในขณะที่ต้นทุนการเก็บรักษาลดลง 14,056.63 บาท จาก 274,074.80 บาทเหลือ 260,018.17 บาท เนื่องจากมีปริมาณการจัดเก็บสินค้าในคลังสินค้าที่น้อยลง ถึงแม้จะมีต้นทุนค่าเสียโอกาสที่เพิ่มขึ้น 6,302.25 บาท แต่ไม่กระทบต่อต้นทุนรวมมากนักส่งผลทำให้ต้นทุนรวมลดลง 48,306.65 บาท จาก 480,947.54 บาท เหลือ 432,640.89 บาท ในการคำนวณจุดสั่งซื้อใหม่หลังจากกำหนดระดับการให้บริการแล้ว จุดสั่งซื้อใหม่ของสินค้าแต่ละชนิดกำหนดระดับการให้บริการที่ 99% หลังจากนั้นผู้ศึกษาได้ทำการเปรียบเทียบปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ยและมูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ยพบว่า ปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ยลดลง 14 หน่วย จาก 420 หน่วย เหลือเพียง 406 หน่วย โดยมูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ยลดลง 75,278 บาท จาก 1,727,796 บาท เหลือ 1,652,518 บาทต่อปี | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611532022 ภิญโญ เกิดเดโช.pdf | 3.36 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.