Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72165
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวิศ บุญมี-
dc.contributor.authorโฆษิต อัครวงศาพัฒน์en_US
dc.date.accessioned2021-09-10T04:23:01Z-
dc.date.available2021-09-10T04:23:01Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72165-
dc.description.abstractNowadays, many hospitals usually face the treatment scheduling problem due to increasing the number of patients, resource limitations, and multiple procedures in the system. Also, the cleft lip and cleft palate patient treatment in Thailand is facing with scheduling problem that related to the complicated treatment and long treatment procedure. This research aims to simulate this problem and apply the optimization method to solve the multi-objective problem. The objectives of the patient's treatment scheduling are to minimize the total assigned hospitals' distance, minimizing the total assigned hospital preference value, and minimizing the total makespan. All objective values are formulated as a single objective function via weight-normalization method. In this research, the mathematical model was developed from previous research and then meta-heuristic methods namely Particle Swarm Optimization (PSO) was proposed with particular encoding and decoding schemes for solving the patient's treatment scheduling problem. The solution was tested on several scale numerical examples. To verify and validate the proposed mathematical model and algorithm, the small-scale instance was employed to primally test. The results showed that the patients' appointment arrangement was correct according to the scheduling constraint in this problem. After all scale instances were tested. The results showed that the exact method could excellently find the global solutions in the small cases but unable to solve larger-scale instances within the allowed computation run time. On the other hand, the heuristic method was able to find a feasible solution with computation runtime at most for 4 minutes. Besides, this research proposed other heuristic methods, including global and local neighborhood based PSO (GLNPSO) and Differential Evolution algorithm (DE) to solve the generated numerical examples and compare the evaluating result. The comparison results showed that PSO mostly was able to find a higher quality solution in the large-scale instance, while DE used the shortest run time to evaluate the feasible solution. Finally, this research is very useful to apply in real-life situations which makes sense for deciding on the best appointment date for the patient. From the obtained results within a short time will be convenient to plan work by simplifies the process of the patient appointment system, reducing the wasted time from finding a suitable appointment date, and maybe also lessening the congestion situation in the hospital. The result of the appointment scheduling in this research gives patients the convenience of being appointed to the nearest hospital. The ongoing research has continued to investigate ways to improve the algorithm performance for a wider range of patient's treatment scheduling problems.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาการจัดตารางรักษาแบบหลายวัตถุประสงค์ สำหรับผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of multi-objective treatment scheduling for cleft lip and cleft palate patientsen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc658.53-
thailis.controlvocab.thashการกำหนดลำดับงาน-
thailis.controlvocab.thashการบริหารเวลา-
thailis.controlvocab.thashปากแหว่งเพดานโหว่-
thailis.manuscript.callnumberว 658.53 ฆ883ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันโรงพยาบาลหลาย ๆ แห่งได้ประสบปัญหากับการจัดตารางการรักษาอันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของผู้ป่ วย ทรัพยากรที่จำกัดและขั้นตอนที่หลากหลายในระบบ เช่นเดียวกับการรักษาผู้ป่วยโรคปากแหว่งเพดานโหว่ในประเทศไทยที่ยังคงประสบปัญหาการจัดตารางการรักษาที่มีสาเหตุ จากการรักษาที่ซับซ้อนและกระบวนการรักษาที่ยาวนาน จากสถานการณ์เหล่านี้ในประเทศไทย งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีความประสงค์ที่จะจำลองปัญหานี้และประยุกต์ใช้วิธีการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ปัญหาการจัดตารางแบบหลายวัตถุประสงค์ โดยวัตถุประสงค์ของการจัดตารางประกอบไปด้วย การหาระยะทางที่สั้นที่สุดระหว่างที่อยู่ของผู้ป่วยและโรงพยาบาล ค่าคะแนนความชื่นชอบต่อโรงพยาบาลที่มากที่สุด และระยะเวลาเสร็จสิ้นโดยรวมที่สั้นที่สุด ซึ่งค่าวัตถุประสงค์ทั้งหมดจะถูกสร้างให้อยู่ในรูปแบบเพียงหนึ่งวัตถุประสงค์ด้วยการใช้วิธีการปรับแบบถ่วงน้ำหนัก สำหรับวิธีการแก้ปัญหาในงานวิจัยนี้ได้แก่ วิธีการแก้ปัญหาแบบแม่นตรงโดยแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นจากรูปแบบจำลองที่ได้ถูกนาเสนอมาก่อนหน้า และประยุกต์ใช้วิธีทางฮิวริสติกส์อย่างวิธีการหาค่าทีเหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาค (Particle Swarm Optimization: PSO) โดยวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าวถูกนำมาทดสอบกับตัวอย่างปัญหาขนาดต่าง ๆ ที่สร้างขึ้น ซึ่งผลการทดสอบพบว่า การแก้ปัญหาโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์สามารถหาคำตอบได้ดีในปัญหาที่มีขนาดเล็ก ส่วนการหาคำตอบจากตัวอย่างปัญหาขนาดอื่น ๆ นั้นไม่สามารถหาคำตอบได้ด้วยเวลาที่เหมาะสม ในขณะที่วิธีทางฮิวริสติกส์สามารถหาคาตอบได้และใช้เวลาสูงสุดเพียง 4 นาทีจากการแก้ปัญหาที่มีขนาดใหญ่ นอกจากนั้นงานวิจัยนี้ได้นาวิธีการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาคอีกแบบที่เรียกว่า GLNPSO (Global and Local Neighborhood based PSO) และวิธีหาค่าที่เหมาะสมที่สุดโดยวิวัฒนาการแบบผลต่าง (Differential Evolution: DE) ในการทดสอบกับตัวอย่างปัญหาที่สร้างขึ้นเพื่อเปรียบเทียบ ผลการหาคำตอบ ซึ่งผลการเปรียบเทียบพบว่าในปัญหาที่มีขนาดใหญ่นั้นส่วนมากวิธี PSO สามารถหาคำตอบที่มีคุณภาพกว่า ในขณะที่ DE ใช้เวลาในการหาคำตอบที่เร็วกว่า ตัวแบบจำลองที่พัฒนาแล้วและวิธีการแปลงค่ารหัสไปเป็นคำตอบที่สร้างขึ้นก่อนหน้าที่จะนำมาทดสอบกับตัวอย่างปัญหาขนาดต่าง ๆ นั้นได้ถูกนำมาทดสอบความถูกต้อง ซึ่งผลการทดสอบพบว่ารูปแบบของคำตอบหรือการจัดตารางมีความถูกต้องตามลักษณะของปัญหา สุดท้ายนั้นงานวิจัยนี้จะเป็ นประโยชน์ที่จะนาไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริง เนื่องจากการประมวลผลการแก้ปัญหาการจัดตารางใช้เวลาไม่นาน ซึ่งจะช่วยลดขั้นตอนการดำเนินการในระบบการนัดหมายผู้ป่ วย เพื่อไม่ให้เสียเวลาในการตรวจสอบและหาวันนัดหมายที่เหมาะสม และอาจทาให้ลดความแออัดของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาล ผลการจัดตารางนัดหมายด้วยวิธีการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดทำให้ผู้ป่ วยได้รับความสะดวกจากการที่ถูกนัดหมายไปยังโรงพยาบาลที่ใกล้ และการแก้ปัญหาด้วยวิธีต่าง ๆ ในงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงโอกาสที่จะพัฒนาต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631076 โฆษิต อัครวงศาพัฒน์.pdf10.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.