Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72162
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุริยะ ทองมุณี-
dc.contributor.authorคเชนทร์ จักร์แก้วen_US
dc.date.accessioned2021-09-10T04:08:45Z-
dc.date.available2021-09-10T04:08:45Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72162-
dc.description.abstractThis study proposes the influence of inclined angles on single pile and pile group on vertical and horizontal load capacity based on testing of the physical model laboratory, which using stainless steel with smooth and closed ends. These pile models were installed in case of the single pile test with inclines of -30, -20, -10, 0, 10, 20 and 30 degrees from the vertical. For the pile group test with 0, 10, 20 and 30 degrees from the vertical that is similar. The physical models were formed by the dry and uniform sand was prepared with 70% relative densities (Dr). The pile embedding in 250 mm-deeper of sand and the horizontal force position is 150 mm-upper of sand. For the results of single pile that the maximum vertical load was found by pile with 10 degrees and then incline angle increasing that tends to decrease the vertical load and lower than in case of vertical single pile. When the pile angle was 30 degrees from the vertical that was found the increasing positive inclined pile resulting in the continuously decreased horizontal load. In the other hand, the increasing negative inclined pile was resulting in the slightly increased horizontal load until the maximum horizontal load by the negative inclined pile at -20 degree. After increasing negative inclined to -30 degree from the vertical affected to decreased horizontal load. For the results of pile group that the pile angle in first rage between of 0 and 20 degrees tends to increase the vertical load capacity. After that, increasing the pile angle tends to decrease the vertical load. However, the increasing of pile angle raise the maximum vertical load at every inclined angle of the pile. In terms of horizontal load capacity that was found the increasing inclined angle of pile tends to increase the horizontal load capacity. After that, increasing the pile angle tends to decrease. For group efficiency ( gE ), the pile angle increasing that tends to increased steadily the gE , both in the case of vertical and horizontal load. In the case of pile capacity vertical load, The vertical piles had the lowest gE was 56.9%, and when the pile angle was increased to 30 degrees from the vertical, gE was 138.7%, which increased by 81.8%. In the case of horizontal load piles Starting at vertical piles, the gE was 125.0% and when the pile angle increasing that tends to decreased the gE lower than the vertical pile during the pile angle.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์เสาเข็มเอียงชนิดกลุ่มแบบใหม่ด้วยแนวคิดแรง ผสมผสานบนพื้นฐานการทดสอบแบบจำลองกายภาพen_US
dc.title.alternativeAnalysis of a new inclined pile group with a combined force concept based on physical model testen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc624.154-
thailis.controlvocab.thashเสาเข็ม-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมเสาเข็มคอนกรีต-
thailis.controlvocab.thashฐานราก-
thailis.manuscript.callnumberว 624.154 ค525ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้เสนอการศึกษาอิทธิพลของมุมเอียงเสาเข็มเดี่ยวและเสาเข็มกลุ่มต่อกำลังรับน้ำหนักในแนวดิ่งและแนวราบ ซึ่งการศึกษาได้เน้นไปที่การทดสอบแบบจำลองทางกายภาพในห้องปฏิบัติการ โดยการประยุกต์ใช้สเตนเลสที่มีผิวเรียบและปลายปิ ดเป็นแบบจำลองเสาเข็มที่ติดตั้งในแนวเอียงกับแนวดิ่งเท่ากับ -30, -20, -10, 0, 10, 20 และ 30 องศากับแนวดิ่ง (เสาเข็มเดี่ยว) และ 0,10, 20 และ 30 องศากับแนวดิ่งแบบสมมาตร (เสาเข็มกลุ่ม) ในส่วนของแบบจำลองดินที่ขึ้นรูปด้วยทรายแห้งที่มีการกระจายขนาดคละอย่างสม่ำเสมอ โดยเตรียมแบบจำลองดินและเสาเข็มเอียงเข้าด้วยกันที่ความหนาแน่นสัมพัทธ์ 70% ซึ่งได้กำหนดความยาวเสาเข็มที่ฝังในชั้นดินทรายเท่ากับ 250 มิลลิเมตร และตำแหน่งแรงกระทำแนวราบจากผิวดินทรายเท่ากับ 150 มิลลิเมตร จากผลการทดสอบสาหรับเสาเข็มเดี่ยว พบว่าการเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มเท่ากับ 10 องศากับแนวดิ่งจะทำให้เสาเข็มสามารถรับน้าหนักในแนวดิ่งได้มากสุด หลังจากนั้นการเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มมีแนวโน้มทำให้กำลังรับน้ำหนักในแนวดิ่งลดลงและจะต่ำกว่าเสาเข็มแนวดิ่ง เมื่อมุมเอียงเสาเข็มเท่ากับ 30 องศากับแนวดิ่ง ในส่วนของกำลังรับน้ำหนักในแนวราบ พบว่าเมื่อเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มด้านบวกทำให้กำลังรับน้ำหนักในแนวราบลดลงอย่างต่อเนื่อง ในทางกับกัน การเพิ่มเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มด้านลบทำให้กำลังรับน้าหนักในแนวราบเพิ่มขึ้นเล็กน้อย และสูงสุดที่มุมเอียงเสาเข็มเท่ากับ -20 องศากับแนวดิ่ง แต่หลังจากนั้นที่มุมเอียงเสาเข็มเท่ากับ -30 องศากับแนวดิ่ง ส่งผลให้กำลังรับน้าหนักในแนวราบลดลง จากผลการทดสอบสาหรับเสาเข็มกลุ่ม พบว่าการเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มในช่วงแรกจนถึงมุมเอียงที่ 20 องศามีแนวโน้มทำให้กำลังรับน้าหนักในแนวดิ่งเพิ่มขึ้น หลังจากนั้นการเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มมีแนวโน้มทำให้กำลังรับน้ำหนักในแนวดิ่งลดลง อย่างไรก็ตามการเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มทำให้กำลังรับน้ำหนักในแนวดิ่งสูงสุดเพิ่มขึ้นในทุกมุมเอียงเสาเข็ม ในส่วนของกำลังรับน้ำหนักในแนวราบ พบว่า การเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มในช่วงแรกจนถึงมุมเอียงที่ 20 องศามีแนวโน้มทำให้กำลังรับน้ำหนักในแนวราบเพิ่มขึ้น หลังจากนั้นการเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มมีแนวโน้มทำให้กำลังรับน้าหนักในแนวราบลดลง เมื่อพิจารณาที่ค่าประสิทธิภาพของเสาเข็มกลุ่ม พบว่าเมื่อมุมเอียงเสาเข็มเพิ่มขึ้นส่งผลให้ค่า gE เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในกรณีน้าหนักในแนวดิ่งและแนวราบ สาหรับกรณีเสาเข็มรับน้ำหนักในแนวดิ่ง เริ่มต้นที่เสาเข็มในแนวดิ่งมีค่า gE ต่ำสุดเท่ากับ 56.9% และเมื่อเพิ่มมุมเอียงเสาเข็มเป็น 30 องศากับแนวดิ่ง มีค่า g E เท่ากับ 138.7% ซึ่งเพิ่มขึ้นถึง 81.8% ในส่วนของกรณีเสาเข็มรับน้ำหนักในแนวราบ เริ่มต้นที่เสาเข็มในแนวดิ่งมีค่า gE เท่ากับ 125.0% และเมื่อเพิ่มมุมเอียงเสาเข็ม พบว่าค่า gE ลดลงต่ำกว่าเสาเข็มในแนวดิ่งในช่วงแรกen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631005 คเชนทร์ จักร์แก้ว.pdf4.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.