Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71085
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Warunee Fongkaew | - |
dc.contributor.advisor | Chawapornpan Chanprasit | - |
dc.contributor.advisor | Thanee Kaewthummanukul | - |
dc.contributor.advisor | Joachim G. Voss | - |
dc.contributor.author | Fusiyah Hayee | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-12-03T09:01:15Z | - |
dc.date.available | 2020-12-03T09:01:15Z | - |
dc.date.issued | 2020-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71085 | - |
dc.description.abstract | Engagement in sexual risk behaviors is related to higher rates of unintended pregnancies and sexually transmitted infections (STIs), which threaten the health of adolescents in Thailand. At present, there is little knowledge concerning the sexual risk behaviors and consequences of engaging in sexual behaviors among Thai Muslim adolescents. Therefore, this study explored the sexual risk behaviors and related factors that could explain sexual risk behaviors to guide future prevention efforts. The aims of this cross sectional descriptive study were to describe sexual risk behaviors and examine the individual, interpersonal, and environmental factors among Thai Muslim adolescents. Participants were recruited by a convenience sampling technique from four schools and one vocational college at the southern border area of Thailand from October 2018 to January 2019. Password protected online questionnaires were given to each respondent to protect their privacy. Data were analyzed using descriptive statistics as well as ordinal and binary logistic regression. Of the 1200 participants, 700 provided complete information and were included in the analysis. The majority indicated low pre coital behaviors (86.9%) and low sexual behaviors (92.0%). Of those participants, 9% had previous experiences with sexual intercourse, and the proportion of sexually active males was higher than for females. Many had never used a condom (41.3%) or contraceptive pills (71.4%). Moreover, 54% of those had had sexual intercourse more than once. Some had been infected with an STI (17.5%) and became pregnant more than once (14.3%). Ordinal logistic regression results for the individual factors showed that sexual risk behaviors prevention knowledge was protective and increased age was a predictive factor for higher sexual risk behaviors, while gender was not a predictor. For the interpersonal factors, parental approval of sex (OR 1.46; 95% Cl [1.23; 1.74]) and peer norms (OR 1.09; 95% Cl [1.05; 1.12]) were predictive factors for higher sexual risk behaviors, while more parental monitoring (OR 0.93; 95% Cl [0.87; 0.99]) was a significant factor for lower sexual risk behaviors. In terms of environmental factors, cultural norms were a significant protective factor, while neighborhood disorganization was a predictive factor for higher sexual risk behaviors. In conclusion, there were low rates sexual intercourse among those adolescents. For those adolescents who were sexually active, however, the results showed high rates of sexual risk behaviors. Individual, interpersonal, and environmental factors influenced sexual risk behaviors. Therefore, further studies are recommended that include all stakeholders within Muslim communities to create comprehensive sex education for students, recommendations for parents, and community guidance appropriate for Muslims. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Sexual Risk Behaviors | en_US |
dc.subject | Muslim adolescents | en_US |
dc.subject | Muslim | en_US |
dc.subject | Southern Border Provinces | en_US |
dc.title | Sexual risk behaviors among Muslim adolescents on the southern border provinces of Thailand | en_US |
dc.title.alternative | พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศมีผลต่ออัตราที่เพิ่มสูงขึ้นของการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์รวมทั้งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งกระทบต่อภาวะสุขภาพของวัยรุ่นในประเทศไทย ณ ปัจจุบัน องค์ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและผลกระทบจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นไทยมุสลิมยังไม่ชัดเจนหรือไม่เพียงพอ การศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะเป็นแนวทางในการป้องกันในอนาคตจึงมีความสำคัญยิ่ง การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ รวมทั้งปัจจัยทั้งด้านบุคคล ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านสิ่งแวดล้อมในวัยรุ่นไทยมุสลิม กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคัดเลือกตามความสะดวกจากโรงเรียนจำนวนสี่แห่งและวิทยาลัยอาชีวศึกษาหนึ่งแห่งในเขตพื้นที่ชายแดนภาคใต้ประเทศไทย ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงมกราคม พ.ศ. 2562 โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ที่มีรหัสผ่านเพื่อรักษาความลับของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติเชิงพรรณนาร่วมกับสถิติถดถอยโลจิสติกแบบอันดับและแบบทวิ ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมดจำนวน 1,200 คน มีเพียง 700 คน ที่ให้ข้อมูลครบถ้วนและถูกนำมาทำการวิเคราะห์ข้อมูล วัยรุ่นส่วนใหญ่มีพฤติกรรมก่อนการมีเพศสัมพันธ์ (ร้อยละ 86.9) และพฤติกรรมทางเพศ (ร้อยละ 92.0) อยู่ในระดับต่ำ ในกลุ่มนี้ร้อยละ 9 เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์ โดยมีสัดส่วนของเพศชายที่ยังคงมีเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับที่สูงกว่าเพศหญิง ทั้งไม่เคยใช้ถุงยางอนามัย (ร้อยละ 41.3) หรือยาคุมกำเนิด (ร้อยละ 71.4) ยิ่งกว่านั้นร้อยละ 54 ของกลุ่มนี้มีเพศสัมพันธ์มากกว่าหนึ่งครั้ง บางรายติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ STI (ร้อยละ 17.5) และตั้งครรภ์มากกว่าหนึ่งครั้ง (ร้อยละ 14.3) ผลจากการวิเคราะห์ด้วยสถิติการถดถอยโลจิสติกแบบอันดับ พบว่าปัจจัยด้านบุคคล ในส่วนความรู้ในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศเป็นปัจจัยป้องกัน ขณะที่อายุที่เพิ่มขึ้นเป็นปัจจัยทำนายสำหรับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศที่สูงขึ้น ขณะที่เพศไม่ได้เป็นปัจจัยทำนาย สำหรับปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล พบว่าการยอมรับการมีเพศสัมพันธ์ของผู้ปกครอง (OR 1.46; 95% Cl [1.23; 1.74]) และบรรทัดฐานของกลุ่มเพื่อน (OR 1.09; 95% Cl [1.05; 1.12]) เป็นปัจจัยทำนายสำหรับการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ขณะที่การควบคุมกำกับที่เข้มงวดของผู้ปกครอง (OR 0.93 ; 95% Cl [0.87; 0.99]) เป็นปัจจัยสำคัญต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ สำหรับปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม บรรทัดฐานทางวัฒนธรรมนับเป็นปัจจัยป้องกันที่มีนัยสำคัญ ขณะที่ความไม่เป็นพวกพ้องของเพื่อนบ้านเป็นปัจจัยทำนายพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศที่สูงขึ้นได้ โดยสรุปอัตราการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นอยู่ในระดับต่ำ แต่กลุ่มที่ยังคงมีเพศสัมพันธ์นั้นยังมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในอัตราที่สูง ปัจจัยส่วนบุคคล ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านสิ่งแวดล้อมมีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ดังนั้นการศึกษาในอนาคตสมควรที่จะพิจารณาศึกษาในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดในชุมชนมุสลิม เพื่อร่วมสร้างการศึกษาเพศวิถีรอบด้านสำหรับนักเรียน ข้อเสนอแนะสำหรับผู้ปกครองและแนวทางที่เหมาะสมสำหรับชุมชนมุสลิม | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
581255901 ฟูซียะห์ หะยี.pdf | 2.22 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.