Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71082
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ เอื้อพันธ์วิริยะกุล-
dc.contributor.authorสุภชาญา ประธานen_US
dc.date.accessioned2020-12-03T08:03:09Z-
dc.date.available2020-12-03T08:03:09Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71082-
dc.description.abstractThe Queen Sirikit Department of Sericulture has an important role in the silkworm industry by producing a disease free laying (DFL) for breeder. This task is also for the promotion and conservation of silkworm genetics. One of the main task is to count and classify eggs on the DFL. However, the traditional method for the classification and counting processes are performed by either humans or the estimation from the average weight of eggs. Those methods can be problematic and erroneous. Hence in the research, we use the counting neural networks (countNN) scheme in machine learning technology to perform the task instead. The input of the system are the scanned images of DFLs. The stochastic gradient descent (SGD) and Firefly algorithm (FA) is used to train the countNN. The class-wise counting result of the train data set from the SGD are 75.07%, 73.05%, 76.39% and 13.62% for the fresh eggs, all-blue eggs, shell eggs and dead eggs, respectively. The test result from the SGD system is 58.50% on the average. Whereas, that of the train data set from the FA are 89.24%, 84.14%, 88.01% and 77.14% for the fresh eggs, all-blue eggs, shell eggs and dead eggs, respectively. For the unfertilized egg, the FA system yields 36.21% and 35.73% for the all-blue and shell eggs stage. This is because of the similarity between all-blue in early stage and unfertilized eggs, as well as between shell eggs and unfertilized eggs. Finally, the overall counting rate from the FA system is 85.41%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectไข่en_US
dc.subjectไหมen_US
dc.subjectโครงข่ายประสาทเทียมen_US
dc.titleการจำแนกชนิดและนับไข่ไหมจากภาพโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมen_US
dc.title.alternativeImage-based silkworm eggs classification and counting using artificial neural networksen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในอุตสาหกรรมหม่อนไหม กรมหม่อนไหมเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่สำคัญ ในการผลิตแผ่นไข่ปลอดเชื้อ (Disease Free Laying) หรือ DFL จำหน่ายให้แก่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง และผลิตแผ่น DFL เพื่อใช้ในการพัฒนาและอนุรักษ์สายพันธุ์ตัวไหมในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงหม่อนไหม โดยหน้าที่สำคัญหน้าที่หนึ่งของกรมหม่อนไหม คือการนับจำนวนและจำแนกไข่ไหมบนแผ่น DFL โดยปกติแล้วการนับไข่ไหมจะถูกกระทำโดยมนุษย์ หรือคำนวณการประมาณจากน้าหนักโดยเฉลี่ยของไข่ อย่างไรก็ตามวิธีการนับโดยมนุษย์นั้นใช้เวลาค่อนข้างมาก และการประมาณโดยน้ำหนักเฉลี่ยนั้นมีความคลาดเคลื่อนสูง ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงได้ นำกระบวนการเรียนรู้ของเครื่อง (Machine learning) มาประยุกต์ใช้ โดยการประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบนับ (Counting Neural Networks) หรือ countNN เข้ากับระบบการนับไข่ไหม โดยข้อมูลนำเข้าของระบบคือไฟล์ภาพดิจิทัลของแผ่นไข่ที่รับเข้าด้วยการสแกน และฝึกสอน countNN ที่ใช้ในระบบด้วย ขั้นตอนวิธี Stochastic Gradient Descent หรือ SDG และ ขั้นตอนวิธีหิ่งห้อย (Firefly Algorithm : FA) โดยการทดสอบระบบแบบ 4 fold cross validation และทดสอบการนับจริงบนแผ่นไข่ด้วย Sliding window ขนาด 19x19 และ Step size = 6โดยใช้ Local maximum ในการปฏิเสธความเป็นไข่ ผลการฝึกสอนระบบด้วย SGD ให้ความถูกต้องในการนับไข่บนภาพ 75.07%, 73.05%, 76.39% และ 13.62% แยกตามคลาส (Class-wise counting rate) สำหรับ ไข่สด ไข่ออลบลู เปลือกไข่ และไข่ไม่ฟัก ตามลำดับ แต่อย่างไรก็ตามความถูกต้องโดยรวมของระบบจากการทดสอบการนับไข่ทุกประเภท มีความถูกต้องประมาณ 58.50% โดยเฉลี่ย สำหรับผลของการฝึกสอนระบบด้วยขั้นตอน FA ซึ่งระบบที่พัฒนาขึ้นให้ความถูกต้องในการนับไข่บนภาพ 89.24%, 84.14%, 88.01% และ 77.14% แยกตามคลาสสำหรับ ไข่สด ไข่ออลบลู เปลือกไข่ และไข่ไม่ฟัก ตามลำดับ สำหรับไข่ฝ่อมีอัตราการนับ 36.21% และ 35.73% แยกตามคลาสบนแผ่นไข่ระยะออลบลู และแผ่นไข่ระยะเปลือกไข่ ซึ่งเป็นผลมาจากลักษณะที่คล้ายคลึงกันระหว่างไข่ออลบลูในระยะเริ่มต้นกับไข่ฝ่อบนแผ่นไข่ระยะออลบลู และเปลือกไข่กับไข่ฝ่อบนแผ่นไข่ระยะเปลือกไข่ โดยความถูกต้องโดยรวมของระบบมีความถูกต้องเฉลี่ย 85.41%en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580631040 สุภชาญา ประธาน.pdf5.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.