Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนีย์ หอมกลิ่น-
dc.contributor.authorกชกร ทรัพย์พันแสนen_US
dc.date.accessioned2020-12-03T07:33:36Z-
dc.date.available2020-12-03T07:33:36Z-
dc.date.issued2020-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71080-
dc.description.abstractThe purpose of this research were (1) to examine the relationships among Workplace bullying, stress and turnover intention of registered nurses, (2) to study the moderating role of coping strategies in relationships between workplace bullying and stress of registered nurses and (3) to study the moderating role of coping strategies in relationships between workplace bullying and turnover intention of registered nurses. The correlational research design was used. The Sample was 240 registered nurses who work in public and private hospital, Chiang Mai province. Research instrument consisted of demographic questionnaire, workplace bullying scale, stress scale, turnover intention scale, problem-focused and emotional-focused coping scales. The reliabilities coefficient of the research instruments were .875, .887, .961, .785, .707, respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics and the Pearson Product Moment Correlation. Multiple regression analysis and hierarchical multiple regression analysis were performed to test the research hypotheses. The research finding were as follows: 1. Workplace bully was significantly and positively related to stress of registered nurse at the level .01 (β = .111) 2. Workplace bully was significantly and positively related to turnover intention of registered nurse at the level .01 (β = .175) 3. Problem-focused coping and emotional-focused coping was not a moderate in the relationship between workplace bullying and stress of registered nurse (β = .543 and β = -.034) 5. Emotional-focused coping was significantly play a moderating role in the relationship between workplace bullying and turnover intention of registered nurse at the level .01 (β = -1.869)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการกลั่นแกล้งen_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectการลาออกen_US
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.subjectการเผชิญปัญหาen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการกลั่นแกล้งในที่ทำงานกับความเครียดและความตั้งใจในการลาออกจากงานของพยาบาลวิชาชีพ: บทบาทการเป็นตัวแปรปรับของการเผชิญปัญหาen_US
dc.title.alternativeRelationships among workplace bullying, stress and turnover intention of registered nurses: The Moderating role of coping strategiesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการกลั่นแกล้งในที่ทำงานกับความเครียดและความตั้งใจในการลาออกจากงานของพยาบาลวิชาชีพ (2) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรปรับของการเผชิญปัญหาในความสัมพันธ์ระหว่างการกลั่นแกล้งในที่ทำงานและความเครียดของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรปรับของการเผชิญปัญหาในความสัมพันธ์ระหว่างการกลั่นแกล้งในที่ทำงานและความตั้งในการลาออกจากงานของพยาบาลวิชาชีพ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่ทำงานในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 240 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้ประกอบด้วย แบบสอบถามคุณลักษณะส่วนบุคคล แบบวัดการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน แบบวัดความเครียด แบบวัดความตั้งใจในการลาออกจากงาน แบบวัดการเผชิญปัญหา โดยมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .875 .887 .961 .785 และ .707 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การทดสอบสมมติฐานการวิจัยใชการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า 1. การกลั่นแกล้งในที่ทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกความเครียดของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (β = .111) 2. การกลั่นแกล้งในที่ทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความตั้งใจในการลาออกจากงาน ของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (β = .175) 3. การเผชิญปัญหาแบบมุ่งเน้นการแก้ปัญหา และการเผชิญปัญหาแบบมุ่งเน้นอารมณ์ในการ แก้ปั ญหาไม่สามารถเป็นตัวแปรปรับในความสัมพันธ์ระหว่างการกลั่นแกล้งในที่ทำงานกับความเครียดของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .543 และ β = -.034 ) 4. การเผชิญปัญหาแบบมุ่งเน้นการแก้ปัญหาไม่สามารถเป็นตัวแปรปรับในความสัมพันธ์ ระหว่างการกลั่นแกล้งในที่ทำงานกับความตั้งใจในการลาออกจากงานของพยาบาลวิชาชีพอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (β = -.500) 5.การเผชิญปัญหาแบบมุ่งเน้นอารมณ์ในการแก้ปัญหามีบทบาทการเป็นตัวแปรปรับของความสัมพันธ์ระหว่างการกลั่นแกล้งในที่ทำงานกับความตั้งใจในการลาออกจากงานของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (β = -1.869)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580132051 กชกร ทรัพย์พันแสน.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.