Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเวชยันต์ รางศรี-
dc.contributor.authorคณิศร สารเชื้อen_US
dc.date.accessioned2020-11-30T04:30:54Z-
dc.date.available2020-11-30T04:30:54Z-
dc.date.issued2019-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71076-
dc.description.abstractThe purpose of this thesis is to examine the penetration resistance ability of Teak leaf lamina, estimated by toughness measured as the work to fracture the lamina in punch and die test. The samples were collected randomly from four directions, on the same Teak. The punch positions on the leaf were divided into two areas, middle region and margin region. Environmental factors were collected, such as temperature, ambient relative humidity and light intensity throughout the life cycle of the leaf, for examining the relationship between these factors and the lamina toughness. The results show that the average lamina toughness is 135.7 J.m−2. The local lamina toughness on the margin region is higher than that on the middle region, which indicating that the local lamina toughness is proportional to the local small netted vein distribution density that varies from the margin to the middle region. The average lamina toughness of the leaf depends on the leaf position on the Teak.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectใบสักen_US
dc.subjectการเจาะทะลุen_US
dc.titleการวิเคราะห์การต้านทานของการเจาะทะลุเฉพาะตำแหน่งของแผ่นใบสักen_US
dc.title.alternativeLocal punch penetration resistance analysis of teak leaf laminaen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาและวิเคราะห์ความสามารถในการต้านทานการเจาะทะลุของแผ่นใบของใบสัก ที่วัดจากค่าความเหนียว หรือพลังงานต่อหน่วยพื้นที่หน้าตัดของหัวเจาะ การทดสอบทำโดยนำใบสักตัวอย่างจากต้นสักต้นเดียวกันมาแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ตามทิศที่อยู่ของใบตำแหน่งที่เจาะทดสอบบนใบแบ่งเป็นบริเวณกลางใบ และบริเวณขอบใบ ทั้งนี้ได้เก็บข้อมูลความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ ปริมาณแสง อุณหภูมิ ระหว่างการเจริญเติบโตของใบ เพื่อศึกษาความเกี่ยวข้องของปัจจัยเหล่านี้กับค่าความเหนียว ผลจากการทดสอบแสดงให้เห็นว่า ค่าความเหนียวเฉลี่ยของแผ่นใบของใบสักมีค่าเท่ากับ 135.7 J.m−2 โดยค่าเฉลี่ยของความเหนียวบริเวณขอบใบจะมีค่ามากกว่าบริเวณกลางใบ ซึ่งสอดคล้องกับความหนาแน่นของเส้นแขนงใบที่บริเวณขอบใบ ที่มีค่ามากกว่าบริเวณกลางใบ ค่าความเหนียวเฉลี่ยของแผ่นใบของใบสักจะขึ้นอยู่กับตำแหน่งของใบบนลำต้น และปริมาณแสงที่มากที่สุดหรือน้อยที่สุด ไม่ได้ทำให้ความเหนียวของแผ่นใบของใบสักมีค่าสูงen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580631156 คณิศร สารเชื้อ.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.