Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71071
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเขมกร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorปวีณา แก้วประเสริฐen_US
dc.date.accessioned2020-11-30T03:26:58Z-
dc.date.available2020-11-30T03:26:58Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71071-
dc.description.abstractThis independent study aimed at exploring an enhancement of auto-part warehouse management efficiency for Buanhengkarnchang Lamphun to reduce operation cost and minimize errors. Stocked products should be precisely and promptly found and collected to respond to customer’s need in the most effective way. The study on the efficiency enhancement of warehouse management applied the fishbone diagram to track down causes of problems. In addition, the 5S management concept was also applied as the guideline to identify the ways to improve warehouse management efficiency by defining product code, product details, shelf position and date of stock received, designing store plan and clear labeled storage board according to the Visual Control and First-In First-Out principles. Results of the study on warehouse operation system by measuring time being spent for every activity at the warehouse for 3 months presented as follows. At the pre-enhancement stage, warehouse operation process was divided into 4 stages: receipt, storage, dispatch, and stocktaking. Disk brake pads consumed 143.89 minutes in average in each operation cycle and had 72 times of the loss of sales opportunity along with 6 times of stocktaking error. According to the fishbone diagram analysis to track down causes of problems, the cause of problems came from the contradiction between operation and storing processes, which made the staff unable to perform tasks efficiently: taking a lot of time to find products and serving too slow service to customers. At the post- enhancement stage of warehouse management, which the 5S management concept, Visual Control, and FIFO were applied,the time being spent for every activity at the warehouse was lessen. At the post-enhancement stage, the disk brake pads consumed 16.34 minutes in average in each operation cycle, of which the ratio was reduced from the pre-enhancement stage at 88.64% per operation cycle. There were 2 times of the loss of sales opportunity found at the post-enhancement stage, of which the ratio was reduced from the pre-enhancement stage at 97.22%. In addition, at the post-enhancement stage, error in stocktaking process was not detected. It could be clearly observed that at the post-enhancement stage, the time being spent in every process and the problems of disk brake pads’ dispatch were shortened. Therefore, the business could gain more efficiency in responding to customer’s needs.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectร้านบ้วนเฮงการช่างลำพูนen_US
dc.subjectการจัดการคลังสินค้าen_US
dc.subjectอะไหล่รถยนต์en_US
dc.subjectอะไหล่en_US
dc.subjectคลังสินค้าen_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้าอะไหล่รถยนต์ของร้านบ้วนเฮงการช่างลำพูนen_US
dc.title.alternativeEnhancing auto-part warehouse management efficiency of Buanhengkarnchang Lamphunen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashสินค้าคงคลัง -- การจัดการ-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashรถยนต์ -- อะไหล่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้าอะไหล่รถยนต์ ของร้านบ้วนเฮงการช่าง ลำพูน เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ลดข้อผิดพลาดทำให้สามารถหยิบสินค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทำให้ธุรกิจสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด การศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารคลังสินค้านั้น ได้ใช้แผนผังก้างปลา เพื่อหาสาเหตุของปัญหา และมีการใช้แนวคิดเกี่ยวกับกิจกรรม 5ส เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการกาหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพคลังสินค้า พร้อมกาหนดรหัสสินค้าระบุรายละเอียดของสินค้า ตำแหน่งชั้นวาง วันที่รับสินค้าเข้า รวมถึงการออกแบบแผนผังการจัดเก็บและทำป้ายระบุตำแหน่งการจัดเก็บให้ชัดเจนตามหลักการควบคุมการมองเห็น (Visual Control) และ First In First Out ผลการศึกษาระบบการทำงานของคลังสินค้าโดยการจับเวลาของทุกกิจกรรมในคลัง ในระยะเวลา 3 เดือน พบว่าขั้นตอนการทำงานในคลังสินค้าก่อนปรับปรุง แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ประกอบด้วยรับเข้าสินค้า จัดเก็บสินค้า เบิกจ่ายสินค้า และเช็คสต็อกสินค้า และพบว่าผ้าดิสเบรกใช้เวลาเฉลี่ย 143.89 นาทีต่อรอบ มีการสูญเสียโอกาสขายผ้าดิสเบรก 72 ครั้ง และพบข้อผิดพลาดในการเช็คสต็อกผ้าดิสเบรก 6 ครั้ง จากวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาโดยการใช้แผนผังก้างปลา พบว่า สาเหตุของปัญหาเกิดจากกระบวนการทำงาน และวิธีการจัดเรียงสินค้าไม่สอดคล้องกัน ส่งผลให้พนักงานไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงทาให้เกิดปัญหาในการหาสินค้า และการให้บริการลูกค้าล่าช้ากว่าที่ควรจะเป็น หลังการปรับปรุงการจัดการคลังสินค้าด้วยแนวคิดกิจกรรม 5ส Visual Controlและ FIFO สามารถลดระยะเวลาการทำงานลงในทุกกิจกรรม โดยหลังปรับปรุงผ้าดิสเบรคใช้เวลาการทางานเฉลี่ย 16.34 นาทีต่อรอบ คิดเป็นอัตราส่วนที่ลดลงร้อยละ 88.64 ต่อรอบ และเกิดการสูญเสียโอกาสขายผ้าดิสเบรกหลังปรับปรุง 2ครั้ง คิดเป็นอัตราส่วนที่ลดลงร้อยละ 97.22 และหลังการปรับปรุงคลังทำให้ไม่พบข้อผิดพลาดจากการเช็คสต็อก จะเห็นได้หลังจากการปรับปรุงคลังสินค้า พบว่า ระยะเวลาในการทำงานในทุกขั้นตอนลดลง และปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเบิกจ่ายผ้าดิสเบรกลดลง ซึ่งทำให้กิจการสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้นen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ปวีณา แก้วประเสริฐ.pdf5.25 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.