Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราวรรณ อุดมความสุข-
dc.contributor.advisorพิกุล พรพิบูลย์-
dc.contributor.authorเมธินีวิรัล ทัพมงคลen_US
dc.date.accessioned2020-11-30T03:03:17Z-
dc.date.available2020-11-30T03:03:17Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71069-
dc.description.abstractA majority of critically ill patients who experience respiratory failure require mechanical ventilation. The loss of speech and communication abilities due to intubation can lead to emotional reactions among conscious patients, such as frustration, stress, and anxiety. Ineffective communication methods are time-consuming and inadequate to meeting all communication needs of both patients and nurses. This implementation research aimed to develop and implement guidelines for communication between nurses and intubated patients in a critical care unit of a university hospital. Participants of the study comprised 1) 30 ICU nurses and 2) 54 critically ill patients. The implementation study was divided into two phases based on the framework proposed by the Australian National Health and Medical Research Council (NHMRC). The first phase was to develop practice guidelines and the second phase was to implement the guidelines. The outcome of guidelines implementation was communication assessment. Data collection was conducted with nurses and patients before and after implementing the guidelines. The number and percentages of nurse and patient participants who self-reported a good level of communication efficiency before and after guideline implementation were analyzed.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแนวปฏิบัติen_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.subjectผู้ป่วยen_US
dc.subjectผู้ป่วยวิกฤตen_US
dc.subjectท่อช่วยหายใจen_US
dc.titleการพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติสำหรับการสื่อสารกับผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤตen_US
dc.title.alternativeDevelopment and implementation of practice guidelines for communication with intubated patients in an intensive care uniten_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ป่วยวิกฤตส่วนใหญ่ที่ประสบกับภาวะหายใจล้มเหลวจำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ทำให้มีการสูญเสียความสามารถในการพูดและการสื่อสาร และนำไปสู่การตอบสนองทางอารมณ์ของผู้ป่วยอาทิเช่น ความคับข้องใจ เครียด และวิตกกังวล การสื่อสารที่ไม่มีประสิทธิภาพทำให้ใช้เวลามาก และไม่สามารถตอบสนองความต้องการในการสื่อสารได้เพียงพอสำหรับพยาบาลและผู้ป่วย การวิจัยดำเนินการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและใช้แนวปฏิบัติการสื่อสารระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ผู้ร่วมวิจัยประกอบด้วย 1) พยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต จำนวน 30 คน และ 2) ผู้ป่วยวิกฤต จำนวน 54 คน กระบวนการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ตามกรอบดำเนินการที่เสนอโดยสภาวิจัยด้านสุขภาพและการแพทย์ของประเทศออสเตรเลีย คือ ระยะที่ 1 ระยะพัฒนาแนวปฏิบัติ และระยะที่ 2 ระยะดำเนินการใช้แนวปฏิบัติ ประเมินผลลัพธ์โดยการประเมินประสิทธิภาพของการสื่อสาร รวบรวมข้อมูลจากพยาบาลและผู้ป่วยในระยะก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติ ใช้การวิเคราะห์จานวนและร้อยละของพยาบาลและผู้ป่วยที่รายงานความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการสื่อสารในเกณฑ์ดีในก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
581231041 เมธินีวิรัล ทัพมงคล.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.