Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71068
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมยุลี สำราญญาติ-
dc.contributor.advisorชมพูนุท ศรีรัตน์-
dc.contributor.authorมนัสวี ขนอมen_US
dc.date.accessioned2020-11-30T02:57:57Z-
dc.date.available2020-11-30T02:57:57Z-
dc.date.issued2020-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71068-
dc.description.abstractThe early mobilization of critically ill patients is a physical activity that can be done within the first 48 hours of admission in the intensive care unit to prevent some complications; especially intensive care unit acquired weakness (ICUAW). The effectiveness and outcome of early mobilization depends on the knowledge, attitudes, and practices of nurses. This descriptive study aimed to explore the knowledge, attitudes, and practices of nurses regarding early mobilization of critically ill patients, and the relationship among receiving mobilization training for nurses, the working experiences of ICU nurses, and nurses’ practices regarding the early mobilization of critically ill patients. The samples were 125 registered nurses who had been working at the critical care or intensive care unit from both the medical department and surgical department of Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital and Lampang Hospital. The data were collected using a Demographic Data Form and the Patient Mobilization Attitudes and Beliefs Survey for the Intensive Care Unit (PMABS-ICU). The data were analyzed using descriptive statistics, and the relationship between factors was analyzed using the Point Biserial Correlation Coefficient and the Spearman Correlation Coefficient.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.subjectผู้ป่วยวิกฤตen_US
dc.subjectผู้ป่วยen_US
dc.subjectการเคลื่อนไหวen_US
dc.titleความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของพยาบาลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วของผู้ป่วยวิกฤตen_US
dc.title.alternativeNurses’ knowledge, attitudes, and practices regarding early mobilization of critically Ill patientsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วของผู้ป่วยวิกฤต เป็นกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างมีแบบแผน สามารถทำได้ภายใน 48 ชั่วโมงแรกของการเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน โดยเฉพาะอาการอ่อนแรงจากการเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก การปฏิบัติการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยเร็วจะมีประสิทธิภาพและเกิดผลลัพธ์ที่ดีมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของพยาบาล งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของพยาบาล และหาความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็ว และประสบการณ์การทำงานในหอผู้ป่วยหนัก กับการปฏิบัติของพยาบาลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วของผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 125 คน ที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยหนักหรือหอผู้ป่วยวิกฤต แผนกอายุรกรรมและแผนกศัลยกรรมของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และโรงพยาบาลลำปาง รวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสำรวจทัศนคติและความเชื่อในการเคลื่อนไหวร่างกายผู้ป่วยสำหรับหอผู้ป่วยหนัก (PMABS-ICU) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพอยท์ไบซีเรียลและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมนen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
581231040 มนัสวี ขนอม.pdf4.34 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.