Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยานนท์ หรรษภิญโญ-
dc.contributor.authorเจนวิทย์ ศรีจันทร์en_US
dc.date.accessioned2020-10-22T02:10:27Z-
dc.date.available2020-10-22T02:10:27Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71043-
dc.description.abstractThis research investigated the behavior of reinforced concrete beam-columns under impact load at mid-span and L/4. A 300 kg falling weight was dropped 6 times repeatedly at low height of 0.35, 0.35, 0.70, 0.70, 0.70 and 0.70 m. The experiment comprised sixteen reinforced concrete beamcolumns with 0.22x0.22 m. square section and a clear span length of 3.00 m After the impact test, sixteen experiment repeated static testing and four experiment static testing. The designed variables were (1) the magnitude of the axial load of 0.00 , 0.14, 0.21 and 0.28 of Axial load (2) the spacing of stirrup RB6@100 and RB6@200 and (3) location of impact load . From the test, it was found that, the impact load repetition deteriorated the beams impact resistance especially for the non-axial load specimens. At low small impact load, cracks were propagated and strains in reinforcements were increased. However, at the higher impact load and more number of the repetition, local damage at the impact location was observed. The increase in cracking and strains of the reinforcements were found locally at the impact location. The higher magnitude of axial load effectively reduced the deterioration and minimized the local damage at the impact point. And the test static result, it was found that, the beam-columns that pass static test only will not have crack at near support. However specimens that passed the impact test will have crack at near support due to impact load ,causing vibrate and damage on specimens. The axial load prevented the local damage and shear plug failure mechanism. The higher axial load and stirrup increase the propagation of the previous flexural cracks. For the effect of stirrup spacing the diagonal crack formed at the impact location was more serve for the largely spaced stirrup specimens. The higher axial load and stirrup reduces tensile stress leading to a small number of crack, regardless of the stirrup spacing. In addition, it prevents the local damage at the impact point and shear plug failure mechanism.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคานคอนกรีตen_US
dc.subjectเสาคอนกรีตen_US
dc.subjectคอนกรีตเสริมเหล็กen_US
dc.titleพฤติกรรมของคาน-เสาคอนกรีตเสริมเหล็กจากการรับแรงกระแทกด้านข้างen_US
dc.title.alternativeBehaviour of reinforced concrete beam-columns under lateral impact loadsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ทําการศึกษาพฤติกรรมของคาน-สาคอนกรีตเสริมเหล็กที่รับแรงกระแทกช่วง กลางและบริเวณL/4ของเสา ในการทดสอบจะทําการทดสอบด้วยการปล่อยตุ้มน้ําหนัก 300 กิโลกรัม ตกลงมากระแทกคานเสาทั้งหมด 6 ครั้ง ที่ระดับความสูงแตกต่างกัน แบ่งเป็นที่ระยะ 0.35 ม. จํานวน 2 ครั้ง และ 0.70 ม. จํานวน 4 ครั้ง ตัวอย่างทดสอบที่ใช้มีขนาดหน้าตัด 0.22 ม. x 0.22 ม. ความยาวช่วงพาค 3.00 ม.จํานวน 16 ตัวอย่างหลังจากทําการทดสอบการรับแรง กระแทกได้ทําการทดสอบแบบสถิตซ้ําทั้ง16 ตัวอย่าง และตัวอย่างที่ไม่เคยผ่านการกระแทกอีก 4 ตัวอย่าง โดยแต่ละตัวอย่างมีการแปรผัน คือ 1)ขนาดของแรงอัดในแนวแกน แบ่งเป็น 0.00, 0.14, 0.21 และ 0.28 เท่าของ 4, 2)ระยะห่างของเหล็กปลอก แบ่งเป็น RB6@100 และ RB6a200 3 ตําแหน่งของแรงกระแทกที่ตกกระทบที่บริเวณกึ่งกลางคาน (L/2) และ บริเวณ กึ่งกลางระหว่างกึ่งกลางคานและจุดรองรับ (L/4) จากการทดสอบ พบว่าการปล่อยแรง กระแทกในตัวอย่างทดสอบที่ไม่มีแรงอัดในแนวแกนนั้น ในการทดสอบที่มีแรงกระแทกน้อย (ที่ความสูง 0.35 ม.) รูปแบบการแตกร้าวของคอนกรีตจะกระจายไปทั่วตัวอย่างทดสอบและ ความเครียดของเหล็กเสริมจะมีค่าเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามเมื่อมีแรงกระแทกมากขึ้น (ที่ความสูง 0.70 ม.) และทําการปล่อยแรงกระแทกซ้ําที่จํานวนมากขึ้น ความเสียหายเฉพาะจุด (local damage) จะพบได้มากบริเวณที่รับแรงกระแทก โดยจะมีรูปแบบการแตกร้าวและค่า ความเครียดเพิ่มมากขึ้นบริเวณที่รับแรงกระแทกอย่างเห็นได้ชัด สําหรับตัวอย่างที่มีค่าแรงอัด ในแนวแกนมากขึ้นจะส่งผลช่วยลดการเสื่อมสภาพของตัวอย่างและความเสียหายเฉพาะจุด บริเวณที่รับแรงกระแทก และเมื่อนําตัวอย่างมาทดสอบแบบสถิตจะพบว่าเสาที่ผ่านการทดสอบแบบสถิตเพียงอย่างเดียวจะไม่มีรอยร้าวจากแรงดัดลบบริเวณใกล้กับจุดรองรับ แต่ตัวอย่าง ทดสอบที่ผ่านการทดสอบแรงกระแทกจะเกิดรอยร้าวจากแรงดัดลบ เนื่องจากแรงกระแทก ส่งผลให้เสาเกิดการสั่นสะเทือนและความเสียหาย และเมื่อเพิ่มแรงอัดในแนวแกนมากขึ้นจะ ส่งผลให้เสามีแนวโน้มในการเกิดรอยร้าวเฉพาะจุดที่บริเวณตุ้มตกกระแทกมากกว่าการเพิ่ม แรงอัดในแนวแกนและปริมาณเหล็กเสริมตามแนวขวางที่มากขึ้นสามารถช่วยคงสภาพความ แข็งของเสาภายใต้แรงกระแทกได้และช่วยลดความเครียดที่เกิดขึ้นในเหล็กเสริมและระยะแอ่น ตัวของเสาภายใต้แรงกระแทกen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580631093 เจนวิทย์ ศรีจันทร์.pdf31.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.