Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนัทมน คงเจริญ-
dc.contributor.authorชัชวิน วรปัญญาภาen_US
dc.date.accessioned2020-10-21T03:00:02Z-
dc.date.available2020-10-21T03:00:02Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71039-
dc.description.abstractTheravada Buddhism has been a renowned institution and a vital role in sustaining historical and cultural dimensions in Thai society. However, the state's practice and provision of laws concerning the status of Theravada Buddhism propel the relationship of state and Buddhism in the direction of impediment. From the historical view, Buddhism arrived in this area during the dawn of the first kingdom of Thailand. Subsequently, Thailand became a modern state and established the constitutions and statutory laws that directly governed Buddhism. For example, the Sangha Act that created elements bound up the connection between the Thai state and Buddhism, whereas discriminating against other religions. According to the state's performance, preserve and protect Buddhism, and sometimes, exercised power in the name of the religious institution. Finally, the situation led to conflicts in many cases. From selected case studies, senior monk Srivichai, Santi Asok, Phimon-dhamma monk, and female monk to represent the conflict between the state's authority and opposition of religious institute eradicated the rebellious entity. This study elaborates on the ideology and prevails the conflict of the problems of the Thai state and Buddhism influence, then the suggestion to respect the right to religion of others.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกฎหมายen_US
dc.subjectการคุ้มครองเสรีภาพen_US
dc.subjectศาสนาen_US
dc.subjectศาสนาพุทธen_US
dc.titleกฎหมายที่กำหนดบทบาทของรัฐไทยต่อศาสนาพุทธบนพื้นฐานของการคุ้มครองเสรีภาพในการนับถือศาสนาen_US
dc.title.alternativeLaw governing the role of Thai State on buddhism concerning freedom to religionen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractศาสนาพุทธนิกายเถรวาท กลายเป็นสถาบันหลักและรูปแบบความเชื่อที่มีบทบาทต่อการดำรงอยู่ในแง่มุมของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของประเทศไทย ทว่าการเกิดขึ้นของมาตรการเชิงปฏิบัติโดยรัฐและบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายรูปแบบทำให้สถานะของศาสนาพุทธนิกายเถรวาท และความสัมพันธ์ที่มีต่อรัฐมีความซับซ้อนมีขึ้นกว่าเดิม ความสัมพันธ์ในแง่ประวัติศาสตร์นับตั้งแต่การเข้ามาถึงของศาสนาพุทธในรัฐไทยตั้งแต่ยุคเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ชาติ จนมาถึงการเกิดขึ้นของกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายเฉพาะที่มีความเกี่ยวข้องกับศาสนาโดยตรงคือพระราชบัญญัติคณะสงฆ์แต่ละฉบับ ล้วนแล้วแต่ทำให้เกิดปัจจัยและข้อเท็จจริงหลายประการที่ส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐไทยและศาสนาพุทธเปลี่ยนไปในทิศทางที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิทางศาสนาของกลุ่มความเชื่ออื่นที่มีความแตกต่างจากศาสนาพุทธตามที่รัฐให้การรับรอง และนำมาซึ่งการใช้อำนาจภายใต้บริบทของศาสนาดังกล่าวจนนำไปสู่ความขัดแย้งในหลายกรณี จากกรณีศึกษาของ ครูบาศรีวิชัย สำนักสันติอโศก พระพิมลธรรม และ การบวชภิกษุณีในประเทศไทย เป็นตัวอย่างของกรณีพิพาทระหว่างองค์กรศาสนาที่ได้รับการรับรองของรัฐและกลุ่มความเชื่อที่ขัดแย้งกับองค์กรดังกล่าว ภายใต้การใช้อำนาจของรัฐไม่ว่าจะมาจากองค์กรศาสนาหรือตัวรัฐเองในหลายรูปแบบที่นำไปสู่ความขัดแย้งกับกลุ่มความเชื่อที่ถูกมองว่าเป็นปฏิปักษ์กับรัฐ การศึกษาวิจัยนี้จึงจะนำไปสู่บทสรุปและข้อเสนอแนะสำหรับสถานะความสัมพันธ์ระหว่างรัฐไทยกับศาสนาพุทธในรูปแบบที่ไร้ซึ่งความขัดแย้งและเป็นผลประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่ายen_US
Appears in Collections:LAW: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
582032004 ชัชวิน วรปัญญาภา.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.