Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69781
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChawadon Ketkaew-
dc.contributor.advisorSumintra Maklai-
dc.contributor.authorJomchaya Mangmatien_US
dc.date.accessioned2020-10-06T08:04:55Z-
dc.date.available2020-10-06T08:04:55Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69781-
dc.description.abstractThis study aims to examine the flouting of Maxims found in Thai mobile network advertisements released from 2016 to 2017 on Thai television by using Herbert Paul Grice’s theories of the Cooperative Principle and Flouting Maxims to analyze the selected data, which was collected from the advertisement dialogues. The appropriate dialogues used included the narrator and the presenters’ conversations which illustrate the interactions between them. The advertisements produced and released in that time frame were interesting because the fourth generation of broadband mobile network technology was the trend, and the mobile operators competed with each other in promoting their products and services. The fourteen samples of Thai mobile network advertisements were collected from the website www.youtube.com by selecting samples of conversations where speakers flouted the various maxims. The selected data were analyzed in terms of types of Flouting Maxims, the number of maxims flouted categorized by brand, and the language techniques used in flouting the maxims. In terms of the types of Flouting Maxims, the results of this study revealed that in fourteen samples, the maxims were flouted twenty-four times in total. The Maxim of Manner was flouted the most at nine times, the Maxims of Quantity and Relation were flouted seven times each, and the Maxim of Quality was flouted only one time. In terms of the number of maxims flouted categorized by brand, the results of this study revealed that flouting the Maxims of Manner and Quantity were found in Dtac advertisements the most, flouting the Maxim of Relation was found the most in the advertisements for AIS and Dtac, and flouting the Maxim of Quality was mostly found in TrueMove advertisements. In terms of the language techniques used in flouting the maxims, the results of this study revealed that ambiguity was most frequently used in the fourteen samples to flout the Maxim of Manner, followed by an evasive response used to flout the Maxim of Relation. Insufficient information, excessive information, or repetition were moderately used in order to flout the Maxim of Quantity. The language technique referred to as a rhetorical question was used the least in the fourteen samples to flout the Maxim of Quality. Interestingly, the results also revealed that flouting different maxims in the same advertisement was commonly found as well.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectMobile networken_US
dc.subjectTelevisionen_US
dc.subjectThai mobile networken_US
dc.titleFlouting maxims in Thai mobile network advertisements on televisionen_US
dc.title.alternativeการละเมิดหลักความร่วมมือแบบมีนัยยะในโฆษณาเครือข่าย โทรศัพท์มือถือไทยทางโทรทัศน์en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashCell phone systems-
thailis.controlvocab.thashAdvertising-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การละเมิดหลักความร่วมมือแบบมีนัยยะในโฆษณาเครือข่ายโทรศัพท์มือถือไทยทางโทรทัศน์ โดยใช้ทฤษฎีหลักความร่วมมือและการละเมิดหลักความร่วมมือแบบมีนัยยะของเฮอร์เบิร์ต พอล ไกรซ์ มาเป็นเครื่องมือในการวิจัย ซึ่งคำศัพท์ วลี กลุ่มคำและประโยคที่ใช้ในการศึกษามาจากบทสนทนาที่เกิดขึ้นระหว่างผู้แสดงโฆษณาด้วยกันเอง และระหว่างผู้แสดงโฆษณากับผู้บรรยายที่ไม่ปรากฏตัว โฆษณาที่ใช้ในงานวิจัยนี้ถูกผลิตและเผยแพร่ทางโทรทัศน์ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ถึง ๒๕๖๐ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ระบบการสื่อสารไร้สายรุ่นที่ ๔ หรือที่เรียกว่าสี่จีกำลังเป็นกระแส และเหล่าผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือต่างให้ความสำคัญในการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับระบบการสื่อสารเคลื่อนที่นี้เป็นอย่างมาก ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ถูกรวบรวมมาจากเว็บไซต์ยูทูปดอทคอมจำนวนทั้งสิ้น ๑๔ ตัวอย่าง โดยข้อมูลดังกล่าวซึ่งเป็นบทสนทนาที่ผู้พูดละเมิดหลักความร่วมมือ ถูกนำมาวิเคราะห์ในแง่ของชนิดของหลักที่ละเมิด ปริมาณการละเมิดที่เกิดขึ้น และกลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการละเมิดหลักความร่วมมือในแง่ของชนิดของหลักที่ละเมิด ผลการศึกษาสรุปได้ว่าเกิดการละเมิดหลักความร่วมมือแบบมีนัยยะในบทสนทนาของโฆษณาเครือข่ายโทรศัพท์มือถือไทยทั้งสิ้น ๒๔ ครั้ง จากทั้งหมด ๑๔โฆษณา โดยแบ่งเป็นการละเมิดหลักความร่วมมือแบบวิธีการพูด ๙ ครั้ง แบบปริมาณ ๗ ครั้ง แบบความสัมพันธ์ ๗ ครั้ง และแบบคุณภาพ ๑ ครั้งในแง่ของปริมาณการละเมิดที่เกิดขึ้นในโฆษณาของแต่ละเครือข่าย ผลการศึกษาสรุปได้ว่าการละเมิดหลักความร่วมมือแบบวิธีการพูดและแบบปริมาณถูกพบในโฆษณาจากดีแทคมากที่สุด แบบความสัมพันธ์ถูกพบในโฆษณาจากเอไอเอสและดีแทคมากที่สุด และแบบคุณภาพถูกพบในโฆษณาจากทรูมูฟมากที่สุดในแง่ของกลวิธีทางภาษาที่ใช้ละเมิดหลักความร่วมมือแบบมีนัยยะ บทสนทนาของโฆษณาเครือข่ายโทรศัพท์มือถือไทยใช้กลวิธีทางภาษาคือการใช้คำกำกวมมากที่สุด กลวิธีที่ถูกนำมาใช้มากรองลงมาคือการตอบไม่ตรงคำถาม การให้ข้อมูลมากหรือน้อยเกินไป การกล่าวซ้ำและการถามที่ไม่ต้องการคำตอบ ตามลำดับ นอกจากนี้ ผลการศึกษายังสรุปได้อีกว่าการละเมิดหลักความร่วมมือมากกว่าหนึ่งประเภทสามารถพบได้ในหนึ่งโฆษณาen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580132035 จอมชยา มังมติ.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.