Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorสวรรยา ลีละผลินen_US
dc.date.accessioned2020-10-06T04:15:33Z-
dc.date.available2020-10-06T04:15:33Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69775-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to (1) study the perception of the public about the context of the Queen Sirikit Botanic Garden, Mae Rim district, Chiangmai province, and (2) to create digital marketing strategies of the Queen Sirikit Botanic Garden. Regarding the creation of public awareness about the context of the Queen Sirikit Botanic Garden, Mae Rim district, Chiangmai province, the researcher employed mixed research methods, quantitative and qualitative research methods. Data were collected by using accidental sampling from 400 people visiting the Queen Sirikit Botanic Garden. The data were analyzed by using a statistical program for the quantitative study to analyze the level of people's perception of the Queen Sirikit Botanic Garden. For the qualitative study, a study of creating digital marketing strategies regarding the role of the Queen Sirikit Botanic Garden was employed. The quantitative research findings showed that the media allowing the public to know about the Queen Sirikit Botanic Garden were Facebook, TV, and YouTube, respectively. In addition, people knew the factors and news of the Queen Sirikit Botanic Garden. For general information, 319 people perceived that the Queen Sirikit Botanic Garden was a study and conservation center for plants in natural conditions, and this was the most perceived information (97.8%). For operational activities, 299 people perceived that the Queen Sirikit Botanic Garden organized activities to promote the conservation of plant resources and biodiversity, and this was the most perceived topic (74.8%). Regarding the role of the Queen Sirikit Botanic Garden, 293 people perceived that it collected plant species to grow into categories (73.3%). For products and services, 283 people perceived that the Queen Sirikit Botanic Garden opened for visitors every day from 8.30 AM to 4:30 PM, and this was the most perceived topic (70.8%). In terms of communication channels, 272 people perceived that the Queen Sirikit Botanic Garden had a website (68.0%), and 259 people perceived about academic publications (64.8%). Overall, it was the average of 26.82 items out of 42 items (63.86%).The results of the qualitative research showed that the strategies used to create awareness through digital marketing of the Queen Sirikit Botanic Garden included 1) focuses on the integration of social media both online and offline, 2) instruments using modern media, 3 ) creating distinctive content with the mission of the agency, 4) public interaction on social media, 5) drawing famous people to participate in public relations such as bloggers, YouTubers and TV channels, 6) creating influencers, 7) using the principles of Search Engine Optimization (SEO), and 8) setting the target group that wants to publicize. For suggestions of the next research, in this research, the researcher determined the population group who visited the Queen Sirikit Botanic Garden, Mae Rim district, Chiangmai province. However, since there are various digital media users in many areas and the garden also has four regional branches in Thailand, Phra Mae Ya Botanic Garden in Sukhothai province, Romklao Botanic Garden in Phitsanulok province, Khon Kaen Botanical Garden in Khon Kaen province, and Rayong Botanic Garden in Rayong province, it is appropriate to conduct research among people in other areas, as well as to investigate problems and obstacles in formulating strategies to create a context awareness of the Queen Sirikit Botanic Garden from the sample in order to understand the actual problems and obstacles as well as to compare with other agencies that provide similar services.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกลยุทธ์การตลาดen_US
dc.subjectการตลาดen_US
dc.subjectสวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์en_US
dc.subjectไทยแลนด์ 4.0en_US
dc.subjectการตลาดดิจิทัลen_US
dc.titleการสร้างกลยุทธ์การตลาดเชิงดิจิทัลของสวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ในยุคไทยแลนด์ 4.0en_US
dc.title.alternativeCreating digital marketing strategy for The Queen Sirikit Botanic Garden in the Thailand 4.0 eraen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรับรู้ของประชาชนเกี่ยวกับบริบทของสวน พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และ (2) เพื่อสร้างกลยุทธ์ การตลาดเชิงดิจิทัลของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ สําหรับการสร้างการรับรู้ของ ประชาชนเกี่ยวกับบริบทของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อําเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม แบบวิธีวิจัยเชิงปริมาณนําการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยเก็บ ข้อมูลด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญจากกลุ่มตัวอย่างประชาชน 400 คนที่เข้ามาท่องเที่ยวภายใน สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมทางสถิติในการศึกษาเชิง ปริมาณจะทําการวิเคราะห์ระดับการรับรู้ของประชาชนที่มีต่อสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ สําหรับการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นการศึกษาการสร้างกลยุทธ์การตลาดดิจิทัลเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ผลการศึกษาที่ได้จะทําให้ได้ทราบถึงระดับการ รับรู้ของประชาชนเกี่ยวกับบทบาทของหน่วยงาน และจะนําไปสู่แนวทางสําหรับองค์กร เพื่อวางกล ยุทธ์ที่เหมาะสมในยุคการตลาด 4,0 อันจะนําไปสู่การสร้างการรับรู้ของประชาชนที่มีต่อสวน พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ให้มากยิ่งขึ้น ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่าสื่อที่ทําให้ประชาชนรู้จักสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์เป็นเฟซบุ๊ค โทรทัศน์ และ ยูทูป ตามลําดับ ประชาชนมีการรับรู้ปัจจัยและข่าวสาร ของสวน พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ในด้านข้อมูลทั่วไปหัวข้อสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์เป็นสถานศึกษาและอนุรักษ์พรรณไม้ในสภาพธรรมชาติมีการรับรู้มากที่สุด จํานวน 319 คน คิดเป็นร้อยละ 97.8 ด้านกิจกรรมการดําเนินงานมีการรับรู้มากที่สุดในหัวข้อสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติจัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรพรรณพืชและความหลากหลายทาง ชีวภาพ จํานวน 299 คน คิดเป็นร้อยละ 74.8 ด้านบทบาทหน้าที่หัวข้อสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิติ์รวบรวมพรรณไม้ต่างๆ เพื่อจัดปลูกให้เป็นหมวดหมู่ จํานวน 293 คน คิดเป็นร้อยละ 73.3 ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ประชาชนรับรู้มากที่สุดในหัวข้อ สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์เปิดให้เข้าเยี่ยมชมสวนได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-16.30 น. จํานวน 283 คน คิดเป็นร้อยละ 70.8 ด้านช่องทางการสื่อสารประชาชนรับรู้มากที่สุดในหัวข้อสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์มีเว็บไซต์ จํานวน 272 คน คิดเป็นร้อยละ 68.0 ค้านเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ์ วิชาการจํานวน 259 คน คิดเป็นร้อยละ 64.8 ตามลําดับ ในภาพรวมทั้งหมดเฉลี่ย 26.42 ข้อจากทั้งหมด 42 ข้อ คิดเป็นร้อย ละ 63.86 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่ากลยุทธ์ในการสร้างการรับรู้ผ่านการตลาดเชิงดิจิทัลของสวน พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ 1) มุ่งเน้นการผสมผสานสื่อสังคมทั้งออนไลน์และออฟไลน์ 2) เครื่องมือที่ใช้สื่อทันสมัย 3) สร้างเนื้อหาที่โดดเด่นสอดแทรกภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน 4) การ ปฏิสัมพันธ์กับประชาชนบนพื้นที่สื่อสังคมออนไลน์ 5) ดึงบุคคลที่มีชื่อเสียงเข้ามาร่วม ประชาสัมพันธ์ อาทิเช่น บล็อกเกอร์ ยูทูปเบอร์ รายการโทรทัศน์ 6) การทําtntluencer (อินฟลูเอน เซอร์) 7) การใช้หลักการครองหน้าแรก SEO (Search Engine Optimization) 8) กําหนดกลุ่มเป้าหมาย ที่ต้องการประชาสัมพันธ์ ข้อเสนอแนะในงานวิจัยครั้งต่อไป เนื่องจากในงานวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้กําหนดกลุ่มตัวอย่าง ประชาชกที่เข้ามาท่องเที่ยวภายในพื้นที่สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ แต่เนื่องจากผู้ที่ใช้สื่อดิจิทัลมีจํานวนมาก ในหลายพื้นที่อีกทั้งสวนพฤกษศาสตร์ ยังมี สาขาตามพื้นที่ภูมิภาคต่างๆ ในประเทศไทยอีก 4 สาขา คือ สวนพฤกษศาสตร์พระแม่ย่า จังหวัด สุโขทัย สวนพฤกษศาสตร์ร่มเกล้า จังหวัดพิษณุโลก สวนพฤกษศาสตร์ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น และสวนพฤกษศาสตร์ระยอง จังหวัดระยอง เห็นควรที่จะมีการศึกษาวิจัยประชาชนในกลุ่มพื้นที่อื่น ๆ อีกทั้งควรมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงปัญหาและอุปสรรคในการกําหนดกลยุทธ์ในการสร้างการรับรู้ บริบทของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์จากกลุ่มตัวอย่าง เพื่อทําให้เกิดความเข้าใจถึง ปัญหาและอุปสรรคที่แท้จริง คลอดไปจนถึงศึกษาการเปรียบเทียบกับหน่วยงานอื่นที่ให้บริการใน รูปแบบเดียวกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932063 สวรรยา ลีละผลิน.pdf3.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.