Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69769
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชัย สมิทธิไกร-
dc.contributor.authorวีรพล แก้วพันธ์อ่ำen_US
dc.date.accessioned2020-09-22T02:21:03Z-
dc.date.available2020-09-22T02:21:03Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69769-
dc.description.abstractThe objectives of this study were (1) to investigate levels of grit, proactive behavior, social network, and business success of new tourism entrepreneurs in Chiang Mai province; and (2) to examine predicting power of grit, proactive behavior, and social network on business success of new tourism entrepreneurs in Chiang Mai province. The sample comprised of 390 new entrepreneurs in 5 groups; i.e. (1) product and service (2) tour operator (3) food and beverage (4) car rental, and (5) accommodation. The research instruments were a personal data questionnaire, entrepreneurs’ success scale, a social network scale, a grit scale, and a proactive behavior scale. The statistics used in data analysis were descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation and hierarchical multiple regression analysis. The results of this study are as follows: 1. New tourism entrepreneurs in Chiang Mai province had moderate levels of grit, strong ties of social network, weak ties of social network, and business success. They, however, had a high level of proactive behavior. 2. Grit significantly predicted business success of new tourism entrepreneurs in Chiang Mai province (β = .16, p<.001). 3. Proactive behavior significantly predicted business success of new tourism entrepreneurs in Chiang Mai province (β = .31, p<.001). 4. Both strong and weak ties of social network significantly predicted business success of new tourism entrepreneurs in Chiang Mai province (β = .17,.14, p<.001).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพยากรณ์ความสำเร็จen_US
dc.subjectธุรกิจen_US
dc.subjectผู้ประกอบการen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวen_US
dc.titleปัจจัยพยากรณ์ความสำเร็จทางธุรกิจของผู้ประกอบการใหม่ด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors predicting business success of new tourism entrepreneurs in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ (1) เพื่อศึกษาระดับความพากเพียรพฤติกรรมเชิงรุก การมีเครือข่ายทางสังคมและความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบใหม่ด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ (2) เพื่อศึกษาอำนาจการพยากรณ์ของความพากเพียร พฤติกรรมเชิงรุก และการมีเครือข่ายสังคมที่มีต่อความสำเร็จในการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการใหม่ด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีจำนวน 390 คน เป็นผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ ในธุรกิจการท่องเที่ยว 5 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว (2) กลุ่มธุรกิจนำเที่ยว (3) กลุ่มธุรกิจร้านอาหารและเครื่องดื่ม (4) กลุ่มธุรกิจให้บริการรถเช่า (5) กลุ่มที่พักเพื่อการท่องเที่ยว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยแบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคล แบบวัดความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ แบบวัดเครือข่ายทางสังคม แบบวัดความพากเพียรและแบบวัดพฤติกรรมเชิงรุกสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยาย วิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า1. ผู้ประกอบการใหม่ด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ มีระดับความพากเพียร ระดับเครือข่ายทางสังคมแบบเหนียวแน่น ระดับเครือข่ายทางสังคมแบบผิวเผินและระดับความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการอยู่ในระดับปานกลาง และมีระดับพฤติกรรมเชิงรุกอยู่ในระดับสูง 2. ความพากเพียรสามารถพยากรณ์ความสำเร็จทางธุรกิจของผู้ประกอบการใหม่ด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (𝛽 = .16, p<.001) 3. พฤติกรรมเชิงรุกสามารถพยากรณ์ความสำเร็จทางธุรกิจของผู้ประกอบการใหม่ด้าน การท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ = .31, p<.001) 4. เครือข่ายทางสังคมทั้งแบบเหนียวแน่นและแบบผิวเผินสามารถพยากรณ์ความสำเร็จ ทางธุรกิจของผู้ประกอบการใหม่ด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .17 ,.14 ตามลำดับ, p<.001)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600132033 วีรพล แก้วพันธ์อ่ำ.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.