Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJuthathip Chalermphol-
dc.contributor.advisorBudsara Limnirankul-
dc.contributor.advisorRuth Sirisunyaluck-
dc.contributor.authorSupannika Supasuben_US
dc.date.accessioned2020-09-21T09:26:41Z-
dc.date.available2020-09-21T09:26:41Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69760-
dc.description.abstractThis study aimed to examine the smallholder farmer’s adaptation to the impact of expanded urban areas in Chiang Mai province. This is a survey research which started by interview 6 government officers and 13 smallholder farmers who have experienced with the impact from expanded urban area in Mueang district, Mae Rim district and Hang Dong district for some general information of the study area. Then used questionnaire to collected quantitative data from 200 smallholders’ farmers. The result found that 66% of the farmer were male 50.5% age between 56-65 year. Average age of the farmer was 59.54 year old, 85.5% of the farmer have primary school level. 27% of the farmer have experience in agricultural between 41-50 years and the average experience in agricultural was 35 years. 80% of the farmer were planting in the irrigation zone 63.6% of them were planning rice and 17% were planting vegetables. 45.5% of smallholder farmers have agricultural land area between 6-15 Rai. For the career of smallholder farmers, the data showed that 81.5% of them working as farmer for their full-time career followed by 11% who work as employee and 67.5% of them work as employee for their part time career. Smallholder farmers 38% can made agricultural income between 25,001-50,000 Baht/year. Moreover, the researcher found that only 17.5% of smallholder farmers have agricultural insurance. Thai government also provide some subsidy for 73.5% of smallholder farmers. 44.8% of smallholder farmers received agricultural information from District Agricultural Extension Offices. For frequency of contacting with agricultural extension officers found that 84% of stallholder farmers contacted with agricultural extension officers between 1-5 times/year. 50.1% of smallholder farmers communicated with officers by attended to training which arranged by District Agricultural Extension Offices. In case of Membership in agricultural group found that; 73.5% of smallholder farmers were attended to agricultural group. There were factors affecting farmer adaptation from urban expansion such as education, size of agricultural land, frequency of contacting with agricultural extension officers, total income, opinion level toward agricultural changes and number of agricultural information they receive Variables that had positive correlation were education, frequency of contacting with agricultural extension officers, total income, opinion level toward agricultural changes and number of agricultural information they receive. Variables that had negative correlation were size of agricultural land. Guideline on agricultural extension for adaptation of smallholder farmers in expanded urban areas. The government should be restriction of land use and specified proper amount of agricultural area. Coordinate and control the accordance relevant policies about agricultural production in expanded urban area appropriately. Related organizations need to suggest secondary occupation beside agricultural career for the farmer. Promote safety agricultural production to farmers. Campaign and publicize about how to do agricultural complete production in expanded urban area. The farmer needs to gather agricultural producer’s groups who farm in expanded urban area and introduce themselves to the customer to build connection between producers and consumer. Broadcasting agricultural production process to the student who have aware on safety food production in urban area as the way to create the new generation of farmers. Develop agricultural area to be an agritourism destination. Moreover, adjust their agricultural production from traditional to integrated farming and doing agricultural complete production can add more value to their products. Moreover, the researcher has created a model for smallholder farmers’ adaptation in agricultural production in expanded urban areas, Chiang Mai province which include economic factors, physical factors, social factors and supporting factors combine with the idea of smallholder farmers’ adaptation from this study can be use as a guideline for related organizations in appropriate agricultural extension.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectFarmersen_US
dc.subjectAgricultural productionen_US
dc.titleSmallholder farmers’ adaptation in agricultural production in expanded urban areas, Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeการปรับตัวของเกษตรกรรายย่อยในการผลิตทางการเกษตรในเขตพื้นที่ขยายตัวของเมือง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยคครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงการทำการเกษตร ลักษณะทาง เศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรรายย่อย วิเคราะห์การปรับตัวของเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ที่มีการขยายตัวของเมือง และนำเสนอแนวทางการส่งเสริมการเกษตรเพื่อการปรับตัวของเกษตรกรรายย่อยใน พื้นที่ที่มีการขยายตัวของเมือง ในจังหวัดเชียงใหม่ ใช้วิธีการวิจัยแบบส ารวจ โดยสัมภาษณ์เพื่อทราบถึง สภาพเบื้องต้นของพื้นที่ทำการศึกษาจากเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอและเกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่ ขยายตัวของเมืองมากกว่า 10 ปี ใน 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอหางดง และอำเภอแม่ริม ตามด้วยการวิจัยเชิงปริมาณซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กับเกษตรกรรายย่อยที่ทำการผลิตในเขต พื้นที่ขยายตัวของเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 200 ราย ผลจากการศึกษา พบว่า เกษตรกรรายย่อยร้อยละ 66 เป็นเพศชาย เกษตรกรร้อยละ 50.5 มีอายุ ระหว่าง 56-65 ปี โดยมีอายุเฉลี่ย 59.54 ปี ในด้านการศึกษา เกษตรกรร้อยละ 85.5 มีระดับการศึกษาในขั้นประถมศึกษา เกษตรกรร้อยละ 27 มีประสบการณ์ในการทำการเกษตรอยู่ระหว่าง 41-50 ปี ทางด้านเขตพื้นที่เพาะปลูก พบว่า เกษตรกรร้อยละ 80 ทำการเพาะปลูกอยู่ในเขตพื้นที่ชลประทาน เกษตรกร ร้อยละ 63.7 ทำการเพาะปลูกข้าว เกษตรกรรายย่อยร้อยละ 45.5 มีพื้นที่ทำการเกษตรอยู่ระหว่าง 6-15 ไร่ ด้านอาชีพ เกษตรกรรายย่อยร้อยละ 81.5 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก เกษตรกรร้อย ละ 38 มีรายได้ในภาคการเกษตรอยู่ระหว่าง 25,001-50,000 บาท/ปี ในส่วนของรายได้นอกภาคการเกษตร พบว่า เกษตรกร ร้อยละ 50 มีรายได้นอกภาคการเกษตรต่ำกว่า 10,000 บาท/ปี ในส่วนของรายได้รวมจากทั้งในและนอกภาคการเกษตร พบว่า เกษตรกร ร้อยละ 33.5 มีรายได้รวมอยู่ระหว่าง 25,001-50,000 บาท ด้านการทำประกันภัยพืชผล พบว่า เกษตรกร ร้อยละ 17.5 ทำประกันภัยพืชผล และเกษตรกร ร้อยละ 73.5 ได้รับเงินช่วยเหลือจากภาครัฐ เกษตรกรร้อยละ 44.8 ได้รับข่าวสารด้านการผลิตทาง การเกษตรจากส านักงานเกษตรอำเภอ โดยเกษตรกรร้อยละ 84 มีความถี่ในการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมการเกษตร 1-5 ครั้ง/ปี โดยเกษตรกรร้อยละ 50.1 ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมผ่านการอบรม ความรู้กับเจ้าหน้าที่ ในส่วนของการเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร พบว่า ร้อยละ 73.5 เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร นอกจากนี้เมื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อระดับการปรับตัวของเกษตรกร พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติมี 6 ปัจจัย ได้แก่ การศึกษา พื้นที่ทำการเกษตร ความถี่ในการติดต่อเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร รายได้รวม ความคิดเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ทำการเกษตร และแหล่งข่าวสารด้านการเกษตรที่เกษตรกรได้รับ โดยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับระดับการปรับตัวของเกษตรกรรายย่อยด้านการผลิตทางการเกษตรในเขตพื้นที่ขยายตัวของเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ การศึกษา ความถี่ในการติดต่อเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร รายได้รวม ความคิดเห็นต่อการ เปลี่ยนแปลงในพื้นที่ทำการเกษตรและแหล่งข่าวสารด้านการเกษตรที่เกษตรกรได้รับ ส่วนตัวแปรที่มี ความสัมพันธ์เชิงลบคือ พื้นที่ทำการเกษตรในส่วนของแนวทางการส่งเสริมการเกษตรเพื่อการปรับตัวของเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ที่มี การขยายตัวของเมือง ในจังหวัดเชียงใหม่ ควรมีการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมลักษณะ การใช้ประโยชน์ที่ดิน เนื่องจากเมื่อเกิดการขยายตัวของเมืองเข้าสู่พื้นทางการเกษตรมักจะก่อให้เกิด ปัญหาการรุกล้ำพื้นที่ทำการเกษตรจากความเป็นเมือง หากภาครัฐสามารถกำหนดและควบคุมว่าพื้นที่ใดควรอนุรักษ์ไว้เพื่อทำการเกษตร รวมถึงออกกฎหมายเพื่อบังคับใช้ และควบคุมการดำเนินงานต่างๆ จะสามารถช่วยให้การผลิตทางการเกษตรในเขตขยายตัวของเมืองเป็นไปอย่างยั่งยืน ในส่วนของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรทำการเผยแพร่และนำเสนอความรู้ที่เกี่ยวกับการปรับตัวของเกษตรกรในเขตพื้นที่ขยายตัวของเมือง เปิดโอกาสให้เกษตรกรได้สอบถามวิธีการแก้ไขปัญหาและร่วมแสดงความคิดเห็น ประเมินแนวทางที่ได้ทดลองใช้ ส่วนของตัวเกษตรกรเองนี้นควรมีความกระตือรือร้นที่จะปรับตัวและเรียนรู้ทักษะในการผลิตทางการเกษตรท่ามกลางการขยายตัวของเมือง การรวมกลุ่มเกษตรกรจะยิ่งช่วยให้เกิดความเข้มแข็งและสามารถดำเนินการผลิตแบบครบวงจรได้ นอกจากนี้ในส่วนของแบบจำลองการปรับตัวของเกษตรกรรายย่อยในเขตพื้นที่ขยายตัวของเมืองจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งประกอบไปด้วยการนำเอา ปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยสนับสนุนมารวมกับแนวทางการปรับตัวด้านการผลิตทางการเกษตรในรูปแบบต่างๆไปปรับใช้ เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องด้านการส่งเสริมการเกษตรปรับใช้ให้เหมาะสมต่อไปได้en_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580852003 สุพรรณิการ์ ศุภทรัพย์.pdf7.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.