Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorผดุงเกียรติ จิ้วฮวดen_US
dc.date.accessioned2020-09-09T02:44:00Z-
dc.date.available2020-09-09T02:44:00Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69757-
dc.description.abstractThe study was conducted to 1) investigate the effects, measures, and methods on the management of the social impact relating to land, career, infrastructure, and migration, and about giving back to the communities concerning people’s quality of life around Electricity Generating Authority of Thailand (Mae Moh Mine) area, 2) study the effects, measures, and methods on the management of the environmental impact relevant to sound, air, toxic gas, vibration, and wastewater from running mine around Electricity Generating Authority of Thailand (Mae Moh Mine) area, 3) examine the results of preventive actions on solving the environmental impact and social impact problem which have affected people, communities, and stakeholders living around Mae Moh Mine area during 2009 to 2019. This research was designed to be qualitative research. The data was collected from the interview with a total of 32 people consisting of the delegation, chief, head, and official from the direct section of Mae Moh Mine 20 people, the group of stakeholders who were village headmen 4 people, and the delegation of 4 communities 8 people. The study found that 1) an ongoing operation of EGAT. Mae Moh Mine for more than ten years has caused the crucial social impact such as infertile land caused by sulfur dioxide where soil, water, health, and safety were all affected. Therefore, EGAT. Mae Moh Mine has prioritized those impacts and realized that they were under their responsibilities. They have managed the project to show the responsibility for solving problems, and creating mutual benefits between the company and local people/communities like occupational training to enhance the potential of producing and distributing in the communities. Besides, there is a community enterprise managed by the local people. 2) The operation also caused environmental impact: sound, air, toxic gas, vibration, and wastewater from operating mine. Consequently, EGAT. Mae Moh Mine has defined the environmental management measures with the different standards that were lower than the defined standards of the government sector. 3) The outcome of the problem-solving operation on the environmental and social impact in the past ten years was in a good criterion. Although recently there are still environmental impact, they are at a lower rate. Furthermore, EGAT. Mae Moh Mine has allowed the community to participate in the environmental examination and measurement together in order to enhance more reliance and trust among the local communities than in the past. As a result, the local people and communities have more satisfaction and reliance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเหมืองแม่เมาะen_US
dc.subjectชุมชนen_US
dc.subjectสิ่งแวดล้อมen_US
dc.titleมาตรการและวิธีการในการจัดการผลกระทบทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมต่อชุมชนรอบพื้นที่เหมืองแม่เมาะการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeMeasures and method for managing social and environmental impact in communities around Mae Moh mine of The Electricity generating authority of Thailand, Mae Moh District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc363.731-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม -- แม่เมาะ (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashเหมืองแร่ -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashเหมืองแร่ -- แม่เมาะ (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashเหมืองแร่ -- แง่สิ่งแวดล้อม-
thailis.manuscript.callnumberว 363.731 ผ144ม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลกระทบ มาตรการ วิธีการ ในการจัดการผลกระทบ ด้านสังคม ได้แก่ พื้นที่ทํากิน การสร้างอาชีพ โครงสร้างพื้นฐาน การย้ายหมู่บ้าน การตอบแทนสังคม ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของประชาชนรอบพื้นที่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (เหมืองแม่ เมาะ) 2) เพื่อศึกษาผลกระทบ มาตรการ วิธีการจัดการผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมได้แก่ เสียง อากาศ ก๊าซพิษ แรงสั่นสะเทือนและน้ำเสียจากการประกอบกิจการทําเหมืองแร่ ของการไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทยของ (เหมืองแม่เมาะ) และ 3) เพื่อศึกษาผลจากการดําเนินการป้องกันแก้ไข ปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสังคม สังคม ที่ส่งผลต่อ ประชานชน ชุมชน ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียรอบพื้นที่เหมืองแม่เมาะของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในช่วงระยะเวลา ตั้งแต่ พ.ศ. 2552-2562 การวิจัยที่ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์ กลุ่มตัวแทนเหมืองแม่เมาะ หัวหน้า กอง หัวหน้าแผนก และเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน จากส่วนงานที่รับผิดชอบโดยตรง จํานวน 20 คน และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน จํานวน 4 คน และตัวแทนชุมชน จํานวน 8 คน จาก 4 หมู่บ้าน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 32 คน ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ ดังนี้ 1) จากการดําเนินการของ กฟผ. เหมืองแม่เมาะ มาอย่าง ต่อเนื่องหลายสิบปี ได้ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสังคมที่สําคัญ เช่น พื้นที่ทํากินใหม่ ขาดความอุดม สมบูรณ์ ได้รับผลกระทบจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ส่งผลต่อสภาพดิน น้ำ และสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในการดํารงชีวิต ทาง กฟผ. เหมืองแม่เมาะ ให้ความสําคัญและมีความตระหนักว่าเป็นปัญหาและความรับผิดชอบของ กฟผ. เหมืองแม่เมาะ มีการจัดทําโครงการที่แสดงความรับผิดชอบต่อการป้องกันแก้ไขปัญหา การสร้างผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างกิจการและชาวบ้าน ชุมชน ท้องถิ่น เช่น การฝึกอาชีพ เพิ่มศักยภาพในการผลิตและจําหน่ายสินค้าชุมชน มีการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน และมอบให้กับชุมชน บริหารจัดการ 2) ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมได้แก่ เสียง อากาศ ก๊าชพิบ แรงสั่นสะเทือนและน้ําเสียจากการประกอบกิจการทําเหมืองแร่ ทาง กฟผ. เหมืองแม่เมาะได้กําหนด มาตรการในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ที่มีค่ามาตรฐานต่างๆ ต่ำกว่าค่ามาตรฐานที่หน่วยงานราชการ กําหนด 3) ผลการดําเนินการแก้ไขปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสังคม ในช่วง 10 ปี ที่ ผ่านมา ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดี แม้ปัจจุบันจะมีผลกระทบสิ่งแวดล้อมบ้าง แต่อยู่ในระดับน้อยและทาง กฟผ. ได้ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบตรวจวัดสภาพสิ่งแวดล้อมร่วมกับ กฟผ. เหมือง แม่เมาะ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจให้กับชุมชนมากขึ้นกว่าอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านและชุมชน มีความพึงพอใจและเชื่อมั่นมากขึ้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932010 ผดุงเกียรติ จิ้วฮวด.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.