Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Suthaphat Kamthai-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Patcharin Raviyan-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Srisuwan Naruenartwongsakul-
dc.contributor.authorAnong Jainanen_US
dc.date.accessioned2020-08-29T02:15:54Z-
dc.date.available2020-08-29T02:15:54Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69748-
dc.description.abstractThe preparation and properties of carboxymethyl films from purple rice were investigated. The aims of this study were determined the optimum condition for the production of carboxymethyl flour (CMF) from purple rice, investigated the production of multifunctional film (CMFF) from CMF, thereafter, applied to use CMFF for extending crispy pork rind shelf life. Multifunctional film (CMFF) contained not only anthocyanin, but also total phenolic and total flavonoids compounds acted as a natural antioxidant. The effect of sodium hydroxide concentration (10%, 20% and 40 % w/v) on CMF properties was determined. It was found that the sodium hydroxide solution at the concentration of 10% (w / v) was the most suitable concentration for CMF synthesis. Effecting, in the degree of substitution (DS), CMF percentage, sodium chloride percentage, and the color of CMF were 0.25, 88.7, 0.91, 7.76 milligrams per 100 grams, 4.68 (ΔE), 77.08 (L *), 4.26 (a *) and 3.56 (b *), respectively. In addition, the thermal properties e.g. glass transition temperature (Tg), gelatinization temperature (Tgel) and melting temperature (Tm) were 1.19, 103.61 and 98.46 oC, respectively. In case of the CMF morphological property, the surface of flour granules was decreased with sodium concentration increased. Considering, CMF properties, the researcher was interested in CMFF production by film casting technique which combined between 2% (w/v) CMC and 1% (w/v) CMF as well as its development properties by varying the glycerol concentration i.e. 0, 0.125, 0.25, 0.5 and 1 % (w/v). Thereafter, thermal,physical, chemical and mechanical films properties were tested. The results informed that CMFF blended film at 1% (w/v) glycerol addition had the highest film water solubility was 83.56%. The elongation at break, tensile strength and water vapor permeability (WVP) were 1.66 MPa, 61.26% and 7.15 x 10-4 g⋅m/m2⋅day⋅mm⋅Hg, respectively. Furthermore, it could be report that the increase in glycerol concentration was unaffected the deterioration of anthocyanin in CMFF. The film contained anthocyanin content equal to 0.19 mg 100 g, phenolic content of 118.68 mg GAE / 100 g and total flavonoids 3.60 mg CAE / 100 g DW. Therefore, it was possible that CMFF could act as a natural antioxidant, which should be prove and evaluate its properties in term of antioxidant. In this work, the 0.25% (w/v) of glycerol was used for CMFF casting due to its properties appropriated for crispy pork rind shelf life extension; especially such as WVP and WVTR. The researcher was applied a film to extend the shelf life of crispy pork rind packing with CMFF and oriented polypropylene bags (OPP). Subsequently, the effect of fat oxidation reaction that caused to motivate rancid odor in the crispy pork rind was evaluated. After storage at room temperature, the free radical scavenging activity of antioxidant substances of CMFF was analyzed by using DPPH, ABTS and FRAPS method. It was found that the antioxidant activities were 234.78 (mg VC / 100 g), 298.32 (mg / 100 g) and 1274.25 (mg / 100 grams), respectively. The experiment showed that CMFF could extend the shelf life of crispy pork rind for 14 days without rancid odor. The physical and chemical properties of the crispy pork rind had a moisture content of 1.38 percent, the water active content was 0.44, the overall color difference was 21.75 (ΔE), 55.97, (L *), 3.03 (a *) and 17 (b *). The hardness value was 13.95 (K.gf; hardness). The crispness value and the malondialdehyde content were 73.81 (Kg.s; crispness) 0.24 (mg. / kg; malondialdehyde content), respectively.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titlePreparation and Properties of Carboxymethyl Films from Purple Rice Flouren_US
dc.title.alternativeการเตรียมและสมบัติของฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลจากแป้งข้าวก่ำen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการเตรียมและสมบัติของฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลจากแป้งข้าวค่ํา มีวัตถุประสงค์เพื่อหา สภาวะที่เหมาะสมในการผลิตแป้งคาร์บอกซีเมทิลจากแป้งข้าว... ศึกษากระบวนการผลิตฟิล์มมัลติ ฟังก์ชันจากคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวค่ํา และการนําฟิล์มมัลติฟังก์ชันจากคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าว...มา ใช้ยืดอายุการเก็บรักษาแคบหมู ฟิล์มมัลติฟังก์ชันจากคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวมีสารแอนโทไซยา นิน ฟินอลิก และฟลาโวนอยด์ สามารถใช้เป็นสารต้านออกซิเดชัน โดยเริ่มจากการศึกษาความเข้มข้น ของโซเดียมไฮดรอกไซค์ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร 10, 20 และ 40 พบว่า สารละลายโซเดียมไฮดร อกไซค์ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร 1 เป็นระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุด สําหรับสังเคราะห์คาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวก่ํา ส่งผลให้สมบัติคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าว...มีค่าระคับ การแทนที่ (0.25) ปริมาณร้อยละคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวค่ํา (88.7) ปริมาณร้อยละโซเดียมคลอไรด์ (0.91) ปริมาณแอนโทไซยานิน 7.76 (mg / 100 g) และค่าสีของคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวค่ํา (AE 4.68, L* 77.08, 2* 4.26 และb 3.56) นอกจากนี้พบว่าสมบัติทางความร้อนของ คาร์บอกซีเมทิลแป้ง ข้าวค่ํา มีค่าอุณหภูมิการเปลี่ยนสถานะคล้ายแก้วเท่ากับ 1.19 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเกิดเจลเท่ากับ 103.61 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิหลอมเหลวเท่ากับ 98.46 องศาเซลเซียส ตามลําดับ จากการ วิเคราะห์สมบัติทางสัณฐานวิทยาของคาร์บอกซีเมทิลจากแป้งข้าวค่ํา แสดงให้เห็นว่าระดับความ เข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซค์ส่งผลให้พื้นผิวของเม็ดแป้งลดลง จากสมบัติดังกล่าวของคาร์บอกซี เมทิลแป้งข้าว...ผู้วิจัยมีความสนใจผลิตและพัฒนาฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวค่ํา โดยการขึ้นรูป ฟิล์มประกอบด้วยสารละลายคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสร้อยละ 2 โดยมวลต่อปริมาตร ผสมกับ สารละลายคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวร้อยละ 1 โดยมวลต่อปริมาตร ร่วมกับ กลีเซอรอล ซึ่งเป็นพลาสติไซเซอร์ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ โดยมวลต่อปริมาตร 0, 0.125, 0.25, 0.5 และ 1 จากนั้นนํา ฟิล์มที่ได้ไปทดสอบสมบัติทางความร้อน ทางกายภาพ ทางเคมี และเชิงกล จากผลการทดลองพบว่า การเติมกลีเซอรอลร้อยละ โดยมวลต่อปริมาตร 1 ทําให้ฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวก่ํามีความสามารถ ในการละลายน้ําสูงสุดร้อยละ 83.56 มีค่าต้านทานแรงดึงเท่ากับ 1.65 MPa ร้อยละการยึดตัว ณ จุดขาด เท่ากับ 61.26 และค่าการซึมผ่านของไอน้ํา เท่ากับ 7.15 x 10 g.m / m day mm.Hg, ตามลําดับ นอกจากนี้พบว่าระดับความเข้มข้นของกลีเซอรอลที่เพิ่มขึ้น ไม่มีผลต่อการเสื่อมสภาพของแอนโทร ไซยานินในฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลจากแป้งข้าวก่ํา โดยพบว่าฟิล์มมีปริมาณแอน โทรไซยานินเท่ากับ 0.19 mg 100 g ปริมาณฟีนอลิกเท่ากับ 118.68 mg GAE (100 g และปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมด 3.60 mg CAE / 100 g DW จึงมีความเป็นไปได้ที่ฟิล์มที่ผลิตขึ้นสามารถทําหน้าที่ต้านออกซิเดชันตาม ธรรมชาติได้ งานวิจัยนี้เลือกการเติมกลีเซอรอลที่ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร 0.25 ในการผลิตฟิล์ม คาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวค่ํา เนื่องจากมีสมบัติที่เหมาะสมต่อการทําฟิล์มในการยืดอายุการเก็บรักษา แคบหมูโดยเฉพาะอย่างยิ่งเช่น สมบัติค่าการซึมผ่านของไอน้ําและ ค่าอัตราการซึมผ่านของไอน้ํา ดังนั้นเพื่อเป็นการพิสูจน์และประเมินประสิทธิภาพของฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวค่ําที่มีสมบัติใน การต้านออกซิเดชันได้ ผู้วิจัยจึงได้ประยุกต์ใช้ฟิล์มดังกล่าวที่ผลิตขึ้นเพื่อยืดอายุการเก็บลักษณะ แคบหมู ทําการบรรจุแคบหมูร่วมกับฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าวก่ําและถุงแก้วพอลิโพรพิลีน และ ประเมินผลการยืดอายุการเก็บรักษาแคบหมูจากการเกิดปฏิกริยาออกซิเดชันของไขมันที่เป็นสาเหตุ ของการเกิดกลิ่นหินในแคบหมู โดยหลังจากเก็บรักษาแคบหมูที่อุณหภูมิห้อง ทําการวิเคราะห์ กิจกรรมการต้านออกซิเดชันของสารต้านออกซิเดชันของฟิล์ม โดยวิธี DPPH, ABTS และ FRAP พบว่า มีกิจกรรมด้านออกซิเคชันเท่ากับ 234.78 (mg VC /100 g), 298.32 (mg / 100 g) และ 1274.25 (mg / 100 g) ตามลําดับ ทั้งนี้การทดลองแสดงให้เห็นว่าฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลแป้งข้าว...สามารถยืด อายุการเก็บรักษาแคบหมูได้นาน 14 วัน โดยปราศจากกลิ่นเหม็นหืน สมบัติทางกายภาพและทางเคมี ของแคบหมูมีค่าความชื้นเท่ากับร้อยละ 1.38 ค่าวอเตอร์แอคทีวิตี้เท่ากับ 0.44 ความแตกต่างของสี โดยรวม เท่ากับ 21.75 (AE), 55.97, (*), 3.03 (a*) และ 17 (6) มีค่าความแข็งเท่ากับ 13.95 (Kgf; hardness) ค่าความกรอบเท่ากับ 73.81 (Kg.s; crispness) และ ค่ามาลอนไดแอลดีไฮค์เท่ากับ 0.24 (mg /kg; malondialdehyde content) ตามลําดับen_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
561351005 อานง ใจแน่น.pdf5.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.