Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69744
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorรวีนิภา หิรัญญโกมลen_US
dc.date.accessioned2020-08-29T02:15:16Z-
dc.date.available2020-08-29T02:15:16Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69744-
dc.description.abstractThis study entitled “Organizational Capacity and Success of Implementing the KTB Corporate Internet Banking Services of Provincial Livestock Office Region 5 (Upper Northern Region)” aims to 1) study the organizational capacity and successful implementation of using KTB Corporate Internet Banking Service for the financial practices particularly for payment system, receiving payment, delivering and depositing money at the treasury of Livestock Office Region 5 (Upper Northern Region) and 2) study the challenges and difficulties of implementing the KTB Corporate Internet Banking Services for the financial practices particularly for payment system, receiving payment, delivering and depositing money at the treasury. The mixed-method sequential explanatory design was used to magnify the quantitative outcome. Next, the in-depth interview is conducted among the administrators and staff of Livestock Office Region 5 (Upper Northern Region) to explore the problems and difficulties according to the use of KTB Corporate Banking Service. Under the conceptional framework of Organization Practices, the practices of administrators and staff were evaluated into 3 dimensions which are the innovation practice, the operational process and the developing pathway. The results show that the highest score of organizational capacity is the innovation practice (81.78%) comprising of the practice of problem identification (87%), practice of resolution (83.67%) and practice that stimulate the innovation (74.67%) respectively. Next was the developing pathway (80.55%) comprising of the special capacity management in staff (85.33%), organizational learning pathway (83.33%), and organizational changing pathway (73.00%) respectively. In terms of operational process, the average score was 77.33% comprising of the operational management (85.00%), the collaboration with other parties (82.67%) and the organizational management (64.33%). According to the scores, it is concluded that the innovation practice and the developing pathway are the strength in terms of organizational capacity for the financial practices particularly for payment system, receiving payment, delivering and depositing money at the treasury of Livestock Office Region 5 (Upper Northern Region). In terms of problems and difficulties, it is found that (1) staff of Livestock Office Region 5 (Upper Northern Region) do not have sufficient knowledge in finance and accounting in using the KTB Corporate Internet Banking system. Moreover, (2) the internet speed supporting online services is slow and the staff responding for information and technology (IT) are inexperience to maintenance or repair the system. Also, (3) the authority to make decision belongs to the head office not the regional office. In this research, the solutions are recommended as (1) the trainings that are necessary and related to finance and accounting, should be provided for staff. Furthermore, (2) the discussion between the administrators and staff working in finance and accounting should be set up so that they could learn on the staff’s background and get to know them better. Besides, (3) the training specifically for information technology skills and internet banking services should be provided. Lastly, (4) a staff responding for checking and testing the KTB Corporate Internet Banking Services should be assigned for further flexibility.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleขีดความสามารถขององค์การกับความสำเร็จในการประยุกต์ใช้บริการกรุงไทยอินเตอร์เน็ตแบงค์กิ้งสำนักงานปศุสัตว์ จังหวัดเขต 5 (ภาคเหนือตอนบน)en_US
dc.title.alternativeOrganizational Capacity and Success of Implementing the KTB Corporate Internet Banking Services of Provincial Livestock Office Region5 (Upper Northern Region)en_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระเรื่อง “ขีดความสามารถขององค์การกับความสําเร็จ ในการประยุกต์ใช้ บริการกรุงไทยอินเตอร์เน็ต แบงค์กิ้ง สํานักงานปศุสัตว์จังหวัดเขต 5 (ภาคเหนือตอนบน)" มี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาขีดความสามารถขององค์กร ในด้านรูปแบบวิธีปฏิบัติขององค์กร ของ หน่วยงาน สังกัด สํานักงานปศุสัตว์จังหวัด เขต 3 (ภาคเหนือตอนบน) ที่ทําให้การประยุกต์ใช้ระบบ การจ่ายเงิน รับเงิน และนําเงินส่งคลัง โดยใช้บริการผ่านกรุงไทย อินเตอร์เน็ต แบงค์กิ้ง (KTB Corporate Online) ประสบความสําเร็จ และ 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการประยุกต์ใช้ระบบ การจ่ายเงิน รับเงิน และนําเงินส่งคลัง โดยใช้บริการผ่านกรุงไทย อินเตอร์เน็ต แบงค์กิ้ง การศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมในลักษณะของการใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อ สนับสนุนผลของการวิจัยเชิงปริมาณ (mixed-method sequential explanatory design) ซึ่งระเบียบวิธี วิจัยประเภทนี้จะเป็นประโยชน์ในการขยายประเด็นจากผลการวิจัยเชิงปริมาณที่ได้วิเคราะห์ไว้ก่อน ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการ ประยุกต์ใช้ระบบกรุงไทย อินเตอร์เน็ต แบงค์กิ้ง ภายใต้กรอบคิด วิธีปฏิบัติขององค์กร (Organization Practices) เป็นการประเมินวิธีปฏิบัติขององค์กร ได้แก่ กลุ่มผู้บริหาร และ กลุ่มเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ขององค์กรสําหรับการพิจารณาในรายละเอียดของคุณลักษณะแต่ละวิถีการปฏิบัติในแต่ละด้าน ได้แก่ วิธีปฏิบัติในการเอื้อให้เกิดนวัตกรรม วิถีแห่งการดําเนินงาน วิถีแห่งการเติบโต ผลการวิจัยพบว่าผลการประเมินขีดความสามารถขององค์กรองค์กร(1) ด้านวิธีปฏิบัติของ องค์กร มีจุดแข็งด้านด้านวิถีแห่งนวัตกรรม ได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุดคิดเป็นร้อยละ 81.78 สําหรับ การทํางาน มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมรองลงมาคิดเป็นร้อยละ 80.55 โดยองค์ประกอบย่อยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือวิธีปฏิบัติในการบริหารความสามารถพิเศษของบุคลากร ร้อยละ 45.33 รองลงมาคือ วิธีปฏิบัติใน การเรียนรู้ขององค์กร ร้อยละ 83.33 และวิธีปฏิบัติในการเปลี่ยนแปลงองค์กร ร้อยละ 73.00 ตามลําดับ นอกจากนี้ในด้านวิถีแห่งการดําเนินงาน พบว่าอยู่ในระดับทําบ่อยครั้ง มีค่าคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 77.33 โดยประเด็นย่อยที่ได้คะแนนสูงสุดคือวิธีปฏิบัติในการควบคุมการดําเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 85.00 รองลงมาคือวิธีปฏิบัติในการประสานงานระหว่างภาคส่วนต่างๆ ร้อยละ 82.67 และวิธีบริหาร จัดการองค์กร ร้อยละ 64.33 ตามลําดับ จากผลคะแนนดังกล่าวข้างต้นจึงสามารถสรุปได้ว่า การบริหาร จัดการระบบการจ่ายเงิน รับเงิน และนําเงินส่งคลัง โคยใช้บริการผ่านกรุงไทย อินเตอร์เน็ต แบงค์กิ้ง ของหน่วยงานสังกัด สํานักงานปศุสัตว์เขต 5 ภาคเหนือตอนบนมีขีดความสามารถด้านวิธีปฏิบัติของ องค์กรที่มีจุดแข็งในด้าน “วิถีแห่งนวัตกรรม” และด้าน “วิถีแห่งการเติบโต” ปัญหาและอุปสรรคในการประยุกต์ใช้ระบบกรุงไทย อินเตอร์เน็ต แบงค์ถึง ของหน่วยงาน สังกัด สํานักงานปศุสัตว์เขต 5 ภาคเหนือตอนบนได้แก่ (1) บุคลากรมีความรู้ทางด้านวิชาการทาง การเงินและบัญชีไม่เพียงพอ สาหรับการปฏิบัติโดยใช้ระบบฯ (2) ระบบรองรับการปฏิบัติงานใน ระบบออนไลน์ ขาดความความรวดเร็วในการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต และขาดผู้มีความรู้ ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ในการตรวจสอบดูแลรับผิดชอบซึ่งเมื่อการการชํารุด ระบบขัดข้อง และ (3) ไม่สามารถในการตัดสินใจเนื่องจากต้องรอส่วนกลางเป็นผู้กําหนดควบคุมการ ทํางาน SPECIAL แนวทางแก้ไขปัญหา ได้แก่ (1) ควรส่งเสริมบุคลากรในองค์กร ได้ศึกษาหรือจัดฝึกอบรมใน ส่วนที่สําคัญและจําเป็นสําหรับสายงานที่ปฏิบัติอยู่เพื่อเพิ่มเติม ต่อยอดองค์ความรู้แก่บุคลากรผู้ได้รับ มอบหมายให้ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี (2) ผู้บริหารระดับสูงพูดคุยแลกเปลี่ยนกับบุคลากร ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้รู้ถึงอุปนิสัยส่วนตัว ตลอดจนปัญหาของบุคลากร ในการปฏิบัติงาน (3) องค์กรควรจัดฝึกอบรมความรู้เพิ่มเติมให้แก่บุคลากรเกี่ยวกับทักษะการใช้งาน โปรแกรมทางด้านระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานระบบฯ ที่มี ความเฉพาะและซับซ้อนหรือทักษะด้านคอมพิวเตอร์ต่างๆ และ (4) ผู้บริหารในสังกัดสํานักงาน ปศุสัตว์เขต 5 จัดให้มีบุคลากรที่รับผิดชอบในการสอบทานการใช้ระบบบริการกรุงไทยอินเตอร์เน็ต แบงค์ถึง เป็นบุคลากรของทางองค์กร โดยตรง เพื่อความรวดเร็วและคล่องตัวen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932012 รวีนิภา หิรัญญโกมล.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.