Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPinkaew Laungaramsri-
dc.contributor.advisorAranya Siriphon-
dc.contributor.authorKhun Moe Htunen_US
dc.date.accessioned2020-08-25T02:27:09Z-
dc.date.available2020-08-25T02:27:09Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69725-
dc.description.abstractMyanmar (Burma) as the world’s second largest opium producer after Afghanistan accounts for 18 percent of global opium production. Opium cultivation chiefly occurs in rural upland Shan State where prolonged armed conflict and insecurity has existed for decades. This study examines the change in livelihood from licit crops to an illicit crop in upland southern Shan State. The specific research objectives are: (1) to understand various factors contributing to the historical development of opium cultivation in upland Shan State, (2) to analyze opium discourses by the Myanmar government, regional and international organizations and, the eradication campaigns at the local level, and (3) to examine livelihood strategies of poppy farmers in coping with risk and vulnerability, as well as elements contributing to continue opium cultivation. This study is based on intensive documentary research and two months fieldwork conducted in January and February 2014 in a Pa-Oh village where every household relies on opium cultivation and it represents one among hundreds of rural villages located in the highlands of southern Shan State. This study indicated that the change in livelihood of highland Shan State has occurred along with historical, political and economic factors in Myanmar. Having been legalized and popularized by the British, opium has continued as a high-value commercial crop and the production has risen steadily and it has played a significant role in the prolonged armed conflict of Shan State after independence. This study attributes the conflict that transformed upland Shan State to the results of political conditions in China in the 1950s and the introduction of the Burmese Way to Socialism which led the rise of separatist and ideological movements in the 1960s. During this time, opium cultivation has emerged, disappeared and reemerged according with the changing political order of Myanmar. The development of new opiate drugs in the nineteenth century changed the meaning of opium from being a powerful medicine to a social menace, although the British also perceived it as a lucrative commodity. Following the engagement in drug trade and enslavement of millions of people in Asia by Western traders, the West now postures itself as a champion in war on drugs. Subsequently, the last century has seen the emergence of a wide range of drug elimination efforts and of alternative development programs. Despite the influence of this international war on drugs, Myanmar government policy towards narcotics has been caught up in a dilemma. On the one hand, it is proved that opium eradication is a national responsibility. On the other hand, opium has been used in Myanmar as a way to generate personal profits and as a political tool to counter ethnic resistance and ideological insurgency. This study found that in the study area the decision to grow opium is not taken lightly since poppy cultivation entails high risk and vulnerability due to its illegal nature and environmental conditions. Households rely on opium cultivation to generate income for meeting their basic necessities of food, clothing and medicines. The underlying reason for turning to opium production has multiple sources including the legacy of armed conflict, uncertainty of land ownership, price advantage of opium, forced development projects, and the lack of market opportunity for legal crops. At the same time, an unsuccessful poppy harvest can result in a significant loss as poppy cultivation is both capital-intensive and labor-intensive. Although political risk can be managed by bribing local authorities, unpredictable weather is unavoidable. It is also demonstrated that opium poppy cultivation is as complex as other legal cash crops.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectOpiumen_US
dc.titleLiving with opium: livelihood strantegies among rural highlanders in Southern Shan State, Myanmaren_US
dc.title.alternativeการมีชีวิตอยู่กับฝิ่น: กลยุทธ์การดำรงชีวิตของคนชนบทบนพื้นที่สูงทางตอนใต้ของรัฐฉาน, ประเทศพม่าen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc633.75-
thailis.controlvocab.thashOpium-
thailis.controlvocab.thashOpium -- Planting-
thailis.controlvocab.thashFarmers -- Social aspects-
thailis.controlvocab.thashEthnic groups -- Myanmar-
thailis.manuscript.callnumberTh 633.75 K45L-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractประเทศพม่า (เบอร์ม่า) เปรียบเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งมีจำนวนมากถึงร้อยละ 18 ของการผลิตฝิ่นของโลก การปลูกฝิ่นส่วนใหญ่อยู่บนพื้นที่สูงในรัฐฉานมายาวนานเป็นทศวรรษ ที่ซึ่งมีกองกำลังติดอาวุธอยู่ตามแนวชายแดนที่มีความขัดแย้ง และความไม่มั่นคง การศึกษานี้มีเป้าหมายในการศึกษาความเปลี่ยนแปลงจากการดำรงชีวิตด้วยการปลูกพืชที่ถูกกฏหมาย เป็นการดำรงชีวิตด้วยการปลูกพืชผิดกฏหมายในพื้นสูงทางตอนใต้ของรัฐฉาน เพื่อสนับสนุนประเด็นพิพาทต่างๆ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการ (1) สร้างความเข้าใจปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ของการปลูกฝิ่นในที่ราบสูงของรัฐฉาน และ (2) เพื่อวิเคราะห์วาทกรรมฝิ่นของรัฐบาลพม่า องค์กรระดับระดับภูมิภาคและนานาชาติ รวมถึงกระบวนการรณรงค์ต่อต้านระดับท้องถิ่น และ (3) เพื่อศึกษากลยุทธ์การดำรงชีวิตของเกษตรกรที่ปลูกฝิ่นป๊อบปี้ที่รับมือกับความเสี่ยง ความอ่อนแอ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปลูกฝิ่นต่อไป งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ โดยรวมรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ซึ่งเป็นการบันทึกเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย และเป็นข้อมูลที่ได้จากการลงพื้นที่ภาคสนามระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2557 ณ หมู่บ้านปาโอ ที่ซึ่งเป็นหมู่บ้านหนึ่งจากจำนวนร้อยๆ หมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนพื้นที่สูงทางตอนใต้ของรัฐฉาน การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของการดำรงชีวิตของชาวรัฐฉานบนพื้นที่สูง ทั้งปัจจัยทางด้านประวัติศาสตร์ การเมือง และเศรษฐกิจในประเทศพม่า ชาวอังกฤษนิยมฝิ่นเป็นอย่างมาก เนื่องจากฝิ่นเป็นพืชที่มีมูลค่าเชิงพาณิชย์สูง การผลิตฝิ่นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนสำคัญต่อความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในรัฐฉานหลังจากที่ได้รับเอกราช งานวิจัยนี้ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในที่ราบสูงรัฐฉาน ซึ่งนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงสภาพทางการเมืองในประเทศจีน ในช่วงปีทศวรรษที่ 1950 และการปกครองของพม่าด้วยระบอบสังคมนิยม ซึ่งส่งเสริมความเป็นชาตินิยม และการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มอุดมการณ์ในช่วงปีทศวรรษที่ 1960 ตั้งแต่นั้นมาการปลูกฝิ่นก็เกิดขึ้นมาอีก และก็หายไป และกลับมาได้รับความนิยมใหม่สลับไปมาตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของประเทศพม่า แม้ว่าชาวอังกฤษจะยอมรับว่าฝิ่นเป็นสินค้าที่สร้างกำไรอย่างมาก แต่การพัฒนายาใหม่ๆ ในช่วงศตวรรษที่ 19 ได้ส่งผลให้เปลี่ยนแปลงความหมายของฝิ่นจากยาที่มีประสิทธิภาพเป็น ยาเสพติดที่เป็นภัยต่อสังคม การค้ายาเสพติดของพ่อค้าชาวตะวันตกและการใช้แรงงานทาสชาวเอเชียทำให้ชาวตะวันตกวางท่าราวกับเป็นผู้ชนะสงครามยาเสพติด ในช่วงท้ายของศตวรรษก็มีความพยายามในการกำจัดยาเสพติดออกไป และมีโปรแกรมการพัฒนาต่างๆ เข้ามาให้เป็นทางเลือก สงครามยาเสพติระหว่างประเทศทำให้รัฐบาลพม่าตกอยู่ในสถานการณ์ที่ลำบาก กลืนไม่เข้าคายไม่ออก กล่าวคือด้านหนึ่งการกำจัดฝิ่นก็ถือเป็นนโยบายระดับชาติที่อยู่ในความรับผิดชอบ แต่อีกด้านหนึ่ง ฝิ่นก็ถูกนำไปใช้เพื่อสร้างผลกำไร และเป็นเครื่องมือทางการเมืองในการโต้ตอบการต่อต้านของกลุ่มชาติพันธ์และกบฏทางการเมือง จากการศึกษานี้ พบว่าการตัดสินใจเลือกที่จะปลูกฝิ่นหรือไม่ ไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับเกษตรกร เนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้อง เช่น ราคาของพืชที่ถูกกฎหมายประเภทอื่นค่อนข้างต่ำซึ่งเกษตรกรไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้หากปลูกพืชเหล่านั้น แต่ฝิ่นสามารถสร้างรายได้และผลกำไรให้มากกว่า และเพียงพอต่อการจัดซื้อจัดหาสิ่งจำเป็นพื้นฐานจำพวกอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค อย่างไรก็ดีการปลูกฝิ่นก็มีความเสี่ยงที่จะต้องค่อยหลบเลี่ยงจากรัฐบาล และยังเสี่ยงต่อจากความไม่แน่นอนของสภาพภูมิอากาศอีกด้วย กระนั้นก็ตามการปลูกฝิ่นมีเหตุผลมาจากหลายประการ เช่น การที่ฝิ่นมีราคาค่อนข้างสูง ขณะที่พืชอื่น ๆ ที่ถูกต้องตามกฎหมายกลับไม่มีตลาดรองรับ การเข้ามาของโครงการพัฒนาต่างๆ และความไม่แน่นอนในการเป็นเจ้าของที่ดินของชาวบ้าน ขณะที่การเก็บเกี่ยวที่ไม่ประสบความสำเร็จส่งผลให้เกิดความสูญเสียอย่างมาก เนื่องจากการปลูกดอกป๊อบปี้เป็นทั้งต้นทุนจำนวนมหาศาล และต้องใช้แรงงานจำนวนมากอีกด้วย ถึงแม้ว่าความเสี่ยงทางการเมืองสามารถจัดการได้โดยการติดสินบนเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น งานวิจัยนี้ยังแสดงให้เห็นถึงการปลูกดอกฝิ่นป๊อบปี้ก็ยังคงเป็นเรื่องซับซ้อนเหมือนกับพืชเศรษฐกิจที่ถูกกฏหมายประเภทอื่นๆen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.