Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Chaiwat To-anun-
dc.contributor.advisorAsst. Prof.Dr. Sarunya Valyasevi-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Ratchadawan Cheewangkoon-
dc.contributor.authorParinn Noireungen_US
dc.date.accessioned2020-08-25T01:09:36Z-
dc.date.available2020-08-25T01:09:36Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69721-
dc.description.abstractCitrus reticulate is a major economic crop in Thailand. Chiang Mai in northern Thailand famous for the production of high quality mandarin citrus cultivar called Sainamphung. However, the plantations are being damaged by diseases such as, citrus decline disease, which causes the reduction of the harvest. Currently the farmers do not have proper knowledge and skills for crop management to solve this problem. From the preliminary survey regarding four plots among Chai Prakan, Fang and Mae Ai districts in Chiang Mai province, it was found that in Pang Seaw, Sithawong, Phu Meun and Somkait orchards shown the symptoms of citrus decline disease. From the assessment of these orchards, it was found that, the severity of the disease depends on the management of plantation, age, citrus tree, soil condition, water, environment, weather and the use of various agricultural chemicals. According to the survey of citrus root rot in above four plots, all the symptoms were found with different severity levels. The most severe symptoms were found in the crescent garden and Suan Pu Muen. Among the 64 isolates, 37 isolates were belonged to phytophthora and 27 isolates of Pythium. In the pathogenicity test under the laboratory conditions, with the detached leave method and seedling test method, 60% of all infections caused the disease with varying severity levels. Citrus leaves were collected randomly from Pang Seaw, Phu Muen and Sithawong. The leaves with unusual symptoms including yellow leaves, green leaves, slender leaves, thin leaves, hard leaves and rough leaves were tested using Polymerase Chain Reaction for the greening caused by Liberibacter asiaticus. Among the 10,000 of leaves collection from Pang Siang Park, 95.83% of specimens did not show any symptom. Highly diverse symptoms of greening was shown by 87.50% of the infections. As the main symptom, the leaf turns yellow until pale and clear pattern was not shown. The centre line leaves and branches are dark green. Most of the symptoms are found in young leaves. The leaves are smaller and thicker than usual. In addition, bacteria can become latent in the leaves. The infection was spread throughout the experimental areas in Both Pang Seaw (3-4 years trees) and Phu Muen and Sithawong (more than 10 years trees). The observations have shown that the infection has been developed in the area for a long time. Which allowed the disease to spread over the seedlings through seeds and shoot cuttings. Therefore, the results of the test concluded that the cause of decline stem disease in tangerine was caused by the Liberibacter asiaticus, Phytophthora and Pythium. In the crescent garden, High amount of lime stones effects the soil quality and drainage, and showed the most severe decline symptoms. The study focus on antagonistic microorganisms for the biological control of the citrus decline disease. Antagonistic microorganisms were isolated and tested against the root rot disease in laboratory conditions. The antagonistic fungus Chaetomium spp. was isolated from Chiang Mai Province. Fungi were isolated from 28 samples. Chaetomium spp. Isolates CP3 and HT1 CP2 showed the best inhibitory effect against Phytophthora and Pythium. Controlling citrus decline disease (root rot, stem rot and greening) in greenhouse condition by planting tangerine seedlings which were propagated by means of a one-year-old cutting stock. The cuttings were divided and gave 12 treatments to compare the bio controlling of greening and root rot diseases. The use of organic fertilizers to improve soil quality together with Chaetomium spp. and the management of the farmers' practice emphasizing the use of chemical fertilizers both soil and foliar by measuring the growth of citrus trees in pots including the number of new shoots, length, peak, height of the citrus tree. The amount of chlorophyll in the citrus leaf, the size of the citrus leaf and the amount of citrus root for 8 months was found that the management using bio-technique and farmers’ management causing the citrus trees grown in both types of diseases to grow that are not different. The organic fertilizers together with Chaetomium fungi were used to improve the soil quality of the citrus plantations in Phu meum Som Kiat Suan Pang Seaw and Suan Sithawong. The effects of the treatment was assessed through, severity of the disease, growth parameters of the tree including the number of new shoots, length, amount of chlorophyll in the leaf, leaf size, number of fruits, size of the fruits, sweetness and the yield for 11 months. The test was designed to investigate the biological control of Citrus Decline Disease. Further the use of organic fertilizers to improve soil quality together with the use of Chaetomium fungi in the citrus Phu meum Som Kiat Suan Pang Seaw and Suan Sithawong was also tested. The The severity of the disease, the growth of citrus trees including the number of new shoots, length, amount of chlorophyll in the leaf, leaf size, number of fruits, sweetness and yield for 11 months. Blade and the effects were not different in both methods of management in each garden. The results of the fruit size showed that Pang Siang Park, Sittiwong Garden and Suan Som kait had different sizes of citrus fruits in each process. Further, the citrus flesh in the process using chemical fertilizer has a decaying area, and a larger number of seeds in Suan Phu Muen, the process of using chemical fertilizers has a larger effect. But when comparing the sweetness, it was found that the plants treated with the organic fertilizers togather with Chaetomium spp. are sweeter than the plants treated with chemical fertilizer, except for the crescent garden. due to the lack of production corresponds to the tests in the green house. Therefore, biotechnology can be another option for farmers to reduce the use of chemical fertilizers to maintain long-term soil quality.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleManagement of Citrus Decline Disease Using Biological Techniqueen_US
dc.title.alternativeการจัดการโรคต้นโทรมของส้มโดยการใช้เทคนิคทางชีวภาพen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractส้มเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทยโดยเฉพาะส้มสายน้าผึ้งที่ปลูกทางตอนเหนือของประเทศ เชียงใหม่เป็นแหล่งปลูกส้มสายน้าผึ้งที่มีชื่อเสียงเนื่องจากผลผลิตที่ได้มีคุณภาพที่ดี รสชาติกลมกล่อม แต่ผลผลิตส้มกลับลดลงอย่างมากจากปัญหาเรื่องโรคต้นโทรมของส้มเข้าทาลายและเกษตรกรไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ จากการสารวจแปลงทดลองในสวนของเกษตรกรที่ร่วมโครงการ จานวน 4 ราย ในพื้นที่อาเภอไชยปราการ ฝาง และแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าทั้ง 4 สวน คือสวนสวนปางเสี้ยว สวนสิทธวงศ์ สวนปู่หมื่น และสวนสมเกียรติ มีเปอร์เซ็นต์อาการต้นโทรม 100 เปอร์เซ็นต์เหมือนกันทั้งหมด และจากการประเมินระดับความรุนแรงของโรคต้นโทรม และจากการประเมินความรุนแรงของโรคในแต่ละสวน ทาให้พบว่าการจัดการแปลงปลูก อายุต้นส้ม สภาพดิน-น้า สภาพแวดล้อมและสภาพอากาศ และการใช้สารเคมีเกษตรต่างๆ มีผลต่อระดับความรุนแรงของการเกิดโรคต้นโทรม จากการสารวจอาการรากเน่าของส้มในพื้นที่ทดลองพบอาการดังกล่าว 100 เปอร์เซ็นต์ แต่มีระดับความรุนแรงแตกต่างกัน โดยพบว่าสวนปางเสี้ยว และสวนปู่หมื่นแสดงอาการรุนแรงมากที่สุด และเมื่อทาการแยกเชื้อสาเหตุ สามารถแยกเชื้อราได้ ได้ 64 ไอโซเลท โดยแบ่งเป็นเชื้อ Phytophthora จานวน 37 ไอโซเลท และเชื้อ Pythium จานวน 27 ไอโซเลท และเมื่อทดสอบความสามารถในการก่อให้เกิดโรคในสภาพห้องปฏิบัติการด้วยวิธี detached leave method และ seedling test method พบว่าร้อยละ 60 ของเชื้อทั้งหมด สามารถก่อให้เกิดโรคได้ โดยมีระดับความรุนแรงของการเกิดโรคแตกต่างกัน เมื่อทาการสุ่มเก็บใบส้มที่แสดงอาการผิดปกติ ได้แก่อาการใบเหลืองด่าง เส้นใบเขียว ใบเรียวเล็ก เนื้อใบแข็ง ขรุขระบางส่วน จากสวนปางเสี้ยว ปู่หมื่น และสิทธวงศ์ มาทาการตรวจการเชื้อแบคทีเรีย Candidatus Liberibacter asiaticus สาเหตุโรคกรีนนิ่งด้วยเทคนิค Polymerase Chain Reaction พบเชื้อดังกล่าวในตัวอย่างที่เก็บจากสวนปางเสี้ยว 95.83 เปอร์เซ็นต์ สวนสิทธวงศ์ 83.33 เปอร์เซ็นต์ และสวนปู่หมื่น ตรวจพบ คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ และได้ทาการตรวจเพิ่มในใบที่ไม่แสดงอาการ สามารถตรวจพบเชื้อ 87.50 เปอร์เซ็นต์ แสดงให้เห็นว่าอาการของโรคกรีนนิ่งมีความหลากหลายสูง ไม่มีรูปแบบชัดเจน โดยอาการสาคัญคือทาให้เนื้อใบบางส่วนของส้มเปลี่ยนเป็นสีเหลืองจนถึงซีด เส้นกลางใบและเส้นแขนงมีสีเขียวเข้มอยู่ โดยส่วนมากอาการพบที่ใบอ่อน ใบมีขนาดเล็กลงและหนากว่าปกติ อีกทั้งยังเชื้อแบคทีเรียสามารถเป็นเชื้อแฝงในใบที่ไม่แสดงอาการของโรคอีกด้วย โดยเชื้อดังกล่าวมีการระบาดและกระจายตัวอยู่ทั่วไปในพื้นที่ที่ทาการทดลอง ทั้งในส้มที่มีอายุ 3-4 ปี (สวนปางเสี้ยว) และต้นส้มที่มีอายุมากกว่า 10 ปี (สวนปู่หมื่นและสิทธวงศ์) แสดงว่าเชื้อดังกล่าวมีการพัฒนาอยู่ในพื้นที่มาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งทาให้มีโอกาสที่จะติดไปกับต้นกล้าพันธุ์ทั้งที่เกิดจากเมล็ดและกิ่งตอนได้ ดังนั้นจากผลการทดสอบดังกล่าวจึงสรุปว่าสาเหตุของโรคต้นโทรมในส้มเขียวหวานเกิดจากการร่วมทาลายของเชื้อแบคทีเรีย Candidatus Liberibacter asiaticus และเชื้อรา Phytophthora และ Pythium โดยปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงของอาการในแปลงคือสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะคุณภาพดิน และการระบายน้าในดิน ซึ่งเห็นได้ชัดเจนในสวนปางเสี้ยว ซึ่งดินมีปริมาณของหินปูนสูง แสดงอาการโทรมรุนแรงที่สุด การศึกษาใช้เทคนิคทางชีวภาพในการควบคุมโรคต้นโทรมของส้ม ได้ทาการแยกเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์จากดินในแหล่งต่างๆ และการทดสอบความสามารถในการควบคุมเชื้อสาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าในสภาพห้องปฏิบัติการ โดยสามารถแยกเชื้อราปฏิปักษ์ Chaetomium spp. ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ สามารถแยกเลี้ยงเชื้อได้จานวน 28 ตัวอย่าง และเมื่อนามาทาการทดสอบความสามารถในการควบคุมการเจริญของเส้นใยเชื้อรา Phytophthora และ Pythium ที่เป็นสาเหตุของโรครากเน่าส้มข้างต้น พบว่าเชื้อรา Chaetomium spp. ไอโซเลท CP3, HT1 และ CP2 สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเส้นใยเชื้อราได้ดีที่สุด การทดสอบการควบคุมโรคต้นโทรมของส้มโดยการใช้เชื้อรา Chaetomium spp. ในการทดลองโดยการใช้ในการรักษาต้นโทรมของส้มเดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 8 เดือน โดยเปรียบเทียบกับการจัดการโรคต้นโทรมของส้มจากเกษตรกร จากการวัดการเจริญของความยาวยอด จานวนยอด ความสูงของต้น ปริมาณค่าคลอโรฟิลล์ในใบ ขนาดใบ ความสมบูรณ์ของราก และค่าความเป็นกรด-ด่างของดินในกระถาง พบว่าค่าตัวเลขข้อมูลที่ได้ไม่มีความแตกต่างกันระหว่างวิธีการชีววิธีและกรรมวิธีการจัดการโดยใช้สารเคมี โดยการจัดการในการปลูกส้มในสภาพโรงเรือนการเจริญเติบโตของต้นกล้าส้มมีแนวโน้มการเจริญดีเนื่องจากมีการควบคุมปัจจัยในการเจริญเติบโตของส้มอย่างเหมาะสม การทดสอบการควบคุมโรคต้นโทรมในแปลงปลูกส้มของเกษตรกร ได้ทาการทดสอบการควบคุมโรคต้นโทรมของส้มเขียวหวานโดยการใช้เทคนิคชีวภาพ คือการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อปรับปรุงคุณภาพของดิน ร่วมกับการใช้เชื้อรา Chaetomium เปรียบเทียบการจัดการตามแบบของเกษตรกร ในสวนส้มปู่หมื่น สวนส้มเกียรติ สวนปางเสี้ยว และสวนสิทธวงศ์ โดยทาการประเมินความรุนแรงของโรค วัดการเจริญเติบโตของต้นส้ม ได้แก่จานวนยอดที่แตกใหม่ ความยาวยอด ปริมาณคลอโรฟิลในใบส้ม ขนาดใบส้ม จานวนการติดผล ขนาดของผล ความหวาน และปริมาณผลผลิต เป็นเวลา 11 เดือน พบว่าการแตกยอด ความยาวยอด ปริมาณคลอโรฟิลในใบ และการติดผลไม่แตกต่างกันทั้งสองวิธีการจัดการในแต่ละสวน แต่ผลการวัดขนาดของพบว่าสวนปางเสี้ยว สวนสิทธวงศ์ และสวนสมเกียรติมีขนาดผลส้มความแตกต่างกันในแต่ละกรรมวิธี แต่พบว่าเนื้อส้มในกรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมีมีเนื้อที่ฟ่าม และจานวนเมล็ดลีบมากกว่า แต่ในสวนปู่หมื่นพบว่ากรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมีมีขนาดผลที่โตกว่า แต่เมื่อเปรียบเทียบความหวาน พบว่ากรรมวิธีไอโอเทคนิคมีความหวานมากกว่ากรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมีในทุกสวน ยกเว้นสวนปางเสี้ยว เนื่องจากไม่มีการเก็บผลผลิต ซึ่งสอดคล้องกับการทดสอบในโรงเรือน ดังนั้นไบโอเทคนิคสามารถเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสาหรับเกษตรกรเพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมี เพื่อรักษาคุณภาพของดินในระยะยาวen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570851007 ปริญญ์ น้อยเรือง.pdf6.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.