Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.อลงกรณ์ คูตระกลู-
dc.contributor.authorสิริญา โพธิ์นาคen_US
dc.date.accessioned2020-08-23T23:56:00Z-
dc.date.available2020-08-23T23:56:00Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69716-
dc.description.abstractThis research entitled “Functional Competency of Secretary Incumbent Chiang Mai Rajabhat University” aims to 1) identify the competency and the competency levels expected for secretary incumbent Chiang Mai Rajabhat University 2) evaluate the competency of the secretary incumbent Chiang Mai Rajabhat University and 3) recommend the competency guideline to recruit and develop the secretary incumbent Chiang Mai Rajabhat University. This is qualitative research using 3 research tools to collect data. Firstly, the interview questionnaires were used to identify the functional competency and define the competency of secretary incumbent Chiang Mai Rajabhat University. The five informants were the administrators (at both the university level and institution level), Head of units (or equivalent), and the former President’s secretary. Secondly, the competency evaluation of the secretary incumbent was used to specify the expectation level and evaluate the competency of secretary incumbent Chiang Mai Rajabhat University. Forty-three staff who worked as the secretary incumbents were evaluated by twenty-one administrators. Next, the in-depth interview was conducted to provide the competency guideline to recruit and develop the secretary incumbent Chiang Mai Rajabhat University. The results show that 1) the functional competency of secretary incumbent Chiang Mai Rajabhat University is the expertise in their jobs, the cooperation skill and service mind. Next, 2) the expectation level of functional competency of secretary incumbent was divided into 3 groups based on work experiences. The expectation level of staff who have been working for more than 10 years, is in level 5 (all 3 aspects). The expectation level of staff who have been working for more than 5 years but less than 10 years, is in level 4 (all 3 aspects). The expectation level of staff who have been working for 1 year but less than 5 years, is in level 3 (all 3 aspects). The expectation level of staff who have been working for less than 1 year, is in level 2 (all 3 aspects). The competency level of staff who have been working for 1 year but less than 5 years is higher than the expected competency level in all aspects. Lastly, 3) the identified functional competency of secretary incumbent is used in the workshop to develop the secretary incumbent Chiang Mai Rajabhat University.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสรรถนะประจำกลุ่มงานของผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFunctional Competency of Secretary Incumbent of Chiang Mai Rajabhat Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง “สมรรถนะประจํากลุ่มงานของผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อกําหนดสมรรถนะและระดับสมรรถนะที่ คาดหวังของผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 2. เพื่อประเมินสมรรถนะของ ผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 3, เพื่อเสนอแนวทางการนํากรอบสมรรถนะไป ใช้ในการสรรหาคัดเลือกและการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ การศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีเครื่องมือในการศึกษา คือ 1. แบบสัมภาษณ์ เพื่อกําหนดสมรรถนะประจํากลุ่มงานและนิยามสมรรถนะประจํากลุ่มงานของผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดยผู้บริหารมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน หัวหน้างานสํานักงานหรือ เทียบเท่า และผู้ที่เคยปฏิบัติงานเลขานุการอธิการบดีมาก่อน จํานวน 5 ราย 2. แบบประเมินสมรรถนะ ผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เพื่อกําหนดระดับค่าคาดหวังและประเมิน สมรรถนะของผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ในปัจจุบัน โดยผู้บริหาร หน่วยงาน จํานวน 21 ราย เพื่อประเมินผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ จํานวน 43 ราย 3. การสัมภาษณ์เชิง ลึกเพื่อให้แนวทางในการนํากรอบสมรรถนะประจํากลุ่มงานไปใช้ในการสรรหาคัดเลือกและการ พัฒนา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สมรรถนะประจํากลุ่มงานของผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ ประกอบด้วยสมรรถนะความรู้เกี่ยวกับงานในหน้าที่ สมรรถนะทักษะในการติดต่อ ประสานงาน และสมรรถนะจิตบริการ 2. ระดับสมรรถนะที่คาดหวังประจํากลุ่มงานของผู้ปฏิบัติงาน เลขานุการ จําแนกตามกลุ่มอายุงาน คือ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่มีอายุงานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ระดับความ คาดหวังอยู่ในระดับที่ 5 ทั้ง 3 ด้าน กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่มีอายุงานตั้งแต่ 5 ปีแต่ไม่ถึง 10 ปี ระดับความคาดหวังอยู่ในระดับที่ 4 ทั้ง 3 ด้าน กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่มีอายุงานตั้งแต่ 1 ปีแต่ไม่ถึง 5 ปี ระดับความ คาดหวังอยู่ในระดับที่ 3 ทั้ง 3 ด้าน กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่มีอายุงานไม่ถึง 1 ปี ระดับความคาดหวังอยู่ใน ระดับที่ 2 ทั้ง 3 ด้าน โดยกลุ่มที่มีระดับสมรรถนะสูงกว่าความคาดหวังทุกด้าน ได้แก่ กลุ่ม ผู้ปฏิบัติงานที่มีอายุงานตั้งแต่ 1 ปีแต่ไม่ถึง 5 ปี แต่กลุ่มที่มีอายุงานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป กลับมีระดับ สมรรถนะต่ํากว่าความคาดหวังทุกด้าน 3. สมรรถนะประจํากลุ่มงานที่กําหนดสามารถนําไปใช้ ประกอบในแบบทดสอบและแบบสัมภาษณ์ในการสรรหาคัดเลือก ส่วนข้อมูลที่ได้จากการ เปรียบเทียบช่องว่างสามารถนําไปใช้ในการพัฒนาฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932064 สิริญา โพธิ์นาค.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.