Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69709
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ศิริพงษ์ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorสรวิชญ์ พีรัชชัยนนท์en_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:52:07Z-
dc.date.available2020-08-21T00:52:07Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69709-
dc.description.abstractThis research aims to study the consistency between community-based tourism management of Thai Lue Sri Donchai (Wat Tha Kam Sridonchai), Amphoe Chiang Khong, Chiang Rai and the principle of cultural tourism management in the form of community-based tourism management as well as problems and effects. Secondly, it aims to study development guideline in order to form sustainable cultural community-based tourism of Tai Lue Sri Donchai Community which also conforms with its identity. Lastly, it is to also study the factors which affect the success in developing sustainable cultural community-based tourism of Thai Lue Sri Donchai (Wat Tha Kam Sridonchai). Qualitative research was applied in this study. The key respondents were 24 people who were divided into 5 groups; consisted of the community leaders, government officers, tourists, entrepreneurs, and the local people who are disinterested in the community's tourism management. In-depth interview was used to collect data from the 4 groups of the key respondents; the community leaders, government officers, tourists, and entrepreneurs. The focus group was conducted with the local people and semi-structure interview was used to collect data. The results indicated that community-based tourism management of Thai Lue Sri Donchai (Wat Tha Kam Sridonchai), Amphoe Chiang Khong, Chiang Rai is consistent with the principle of cultural tourism in form of community-based tourism. However, the lack of systematic and constant community-cooperation establishment, and sustainable collaboration is deemed the problems and effects towards the community. By forming sustainable community-based tourism which conforms with the identity of Tai Lue Sri Donchai Community, it should start with in-house discussion, problems and opinion hearings and agreement, as well as cooperative conduction and evaluation in order to generate sustainable economic, social, cultural, and environmental cooperation network. The community's cooperation and the factors on product design or modern and good service which is appropriate with price, place, online system, distribution and service, promotion, public relations on various channels, competency, skills, communication, service, sincerity which is the typical character of Tai Lue people, management platform or method affect the accomplishment in developing Thai Lue Sri Donchai (Wat Tha Kam Sridonchai) community to cultural community tourism in form of sustainable cultural tourism management.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนอย่างยั่งยืนของชุมชนไทลื้อศรีดอนชัย ตำบลศรีดอนชัย อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeGuidelines for Developing Cultural Sustainable Community-Based Tourism of Tai Lue Sri Donchai Community, Sridonchai Sub-district, Chiang Khong District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสอดคล้องระหว่างการจัดการการท่องเที่ยวของ ชุมชนไทลื้อศรีดอนชัย (วัดท่าข้ามศรีดอนชัย) อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย กับหลักการจัดการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชน ตลอดจนสภาพปัญหาและผลกระทบที่ได้รับ 2) นําเสนอแนวทาง ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนไทลื้อศรีดอนชัย (วัดท่าข้ามศรีดอนชัย) อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ให้มีรูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนอย่างยั่งยืนและ เหมาะสมกับบริบทที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชนไทลื้อ และ 3) ศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จใน การพัฒนาชุมชนไทลื้อศรีดอนชัย (วัดท่าข้ามศรีดอนชัย) ให้เป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดย ชุมชนอย่างยั่งยืน GSL2 87680 การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้ให้ข้อมูลสําคัญ แบ่งเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้นําชุมชน 2) เจ้าหน้าที่ของรัฐ 3) นักท่องเที่ยวและผู้มาศึกษาดูงาน 4) ผู้ประกอบการ และ 5) ชาวบ้านที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียจากการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน รวมผู้ให้ ข้อมูลหลักทั้งหมด 24 ราย โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In - Depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลหลัก 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้นําชุมชน เจ้าหน้าที่ภาครัฐ นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ และใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) กลุ่มชาวบ้านที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยใช้แบบสัมภาษณ์ กึ่งมีโครงสร้าง (Semi - Structure Interview) เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า 1) การจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน ไทลื้อศรีดอนชัย (วัดท่าข้ามศรีคอน ชัย) อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ที่ผ่านมามีความสอดคล้องกับหลักการจัดการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมโดยชุมชน ส่วนปัญหาและผลกระทบที่ได้รับ คือ ขาดการสร้างความร่วมมือของคนใน ชุมชนให้เป็นระบบ ต่อเนื่อง และร่วมกันทํางานร่วมกันได้อย่างยั่งยืน 2) รูปแบบการจัดการการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนอย่างยั่งยืน และเหมาะสมกับบริบทที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชน ไทลื้อศรีดอนชัย ควรเริ่มจากการพูดคุย เจรจาของคนในชุมชน รับฟังปัญหา ข้อคิดเห็น และทํา ข้อตกลงยอมรับตลอดจนลงมือดําเนินการ และประเมินผลร่วมกัน เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือใน การจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน ได้อย่างยั่งยืน ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม และ 3) การมีส่วนร่วมของชุมชนและปัจจัยด้านการออกแบบสินค้าหรือบริการที่ทันสมัย มีคุณภาพที่เหมาะสมกับราคา สถานที่ ระบบออนไลน์ การจําหน่ายสินค้าและบริการ การส่งเสริมการ ขาย การประชาสัมพันธ์ตามสื่อช่องทางต่างๆ ความรู้ความสามารถ ทักษะด้านการสื่อสาร การ บริการ ความจริงใจบุคลิกพื้นฐานของชาวไทลื้อ รูปแบบหรือวิธีการจัดการ ส่งผลต่อความสําเร็จใน การพัฒนาชุมชนไทลื้อศรีดอนชัย (วัดท่าข้ามศรีดอนชัย) ให้เป็นชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดย ชุมชนอย่างยั่งยืนได้en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932019 สรวิชญ์ พีรัชชัยนนท์.pdf5.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.