Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorอนุจน์ อวดแรงen_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:51:38Z-
dc.date.available2020-08-21T00:51:38Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69703-
dc.description.abstractThis study on “Development of the San Kampheang Cooperative Village Project Mae On District According to His Majesty the King’s Initiative, Chiang Mai Province Towards Sustainable Development” aims to 1) study on the problems of the development of the San Kampheang cooperative village project according to His Majesty the King’s Initiative of sustainable development and 2) to study on the pathway to the sustainable development of the San Kampheang cooperative village project. The informants in this qualitative research consist of the community leader, staff working in the networking unit in the research area, and people involved in the project. The semi-structured interview and observation (both participant and non-participant observation) were applied for data collection. Moreover, the data was also collected from open places, group discussions, and documentary researches. The results show that His Majesty King Rama IX initiated the cooperative village project to help the poor agriculturalists who did not have their own lands to do agriculture. The sustainable development was the flagship of this project. Regarding the problems, it is found that the social aspect, economy, and environment are the three main aspects related to the sustainable development. Agreed by the informants, drought issue is the main problem for agriculture. However, it appeared that the San Kampheang cooperative village is ready as well as has more opportunities to drive the project according to the practical mechanism and development plan for land development. Human resource development is focused and connected with area conditions and economic development. The environment and natural resources in the area are also concerned. The cooperative works conformed with the working groups and covered all difficulties. Besides, the continuity of problem solving, human-based development and practical action plan are focused leading to the sustainable development.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาโครงการหมู่บ้านสหกรณ์สันกำแพง อำเภอแม่ออน ตามพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนen_US
dc.title.alternativeDevelopment of the San Kampheang Cooperative Village Project Mae On District According to His Majesty the King’s Initiative, Chiang Mai Province Towards Sustainable Developmenten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาโครงการหมู่บ้านสหกรณ์สันกําแพง อําเภอ แม่ออน ตามพระราชดําริ จังหวัดเชียงใหม่ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ภายใต้วัตถุประสงค์ย่อย คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาของโครงการหมู่บ้านสหกรณ์สันกําแพงฯ ตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางของโครงการหมู่บ้านสหกรณ์สันกําแพงฯ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยการ วิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย สมาชิกโครงการ ผู้นําชุมชน เจ้าหน้าที่ หน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การ สัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง และการสังเกต ทั้งแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม การรับฟังข้อมูล ผ่านเวทีรับฟังปัญหา การสนทนากลุ่ม และศึกษาจากเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า โครงการหมู่บ้าน สหกรณ์สันกําแพงฯ นั้น พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ทรงมีพระราชประสงค์ให้ความช่วยเหลือ เกี่ยวกับพื้นที่ทํากินของราษฎรที่ยากจน ไม่มี ที่ดินเป็นของตนเอง การดําเนินงานและการขับเคลื่อนโครงการสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน สําหรับประเด็นปัญหา มีความเกี่ยวเนื่องกันใน 3 มิติหลัก คือ ด้านสังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะปัญหาภัยแล้ง การขาดแคลนน้ําในการเกษตร ที่ชุมชน และผู้ให้ข้อมูลเห็นว่ามี ความสําคัญ แต่ทั้งนี้ โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ สันกําแพงฯ มีความพร้อม และโอกาสในการ คําเนินการมากกว่าพื้นที่อื่น ในการขับเคลื่อน และแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ ด้วยเพราะมีกระบวนการ และกลไกในการพัฒนาพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม โดยสามารถที่จะดําเนินการขับเคลื่อนให้เกิด การ พัฒนาอย่างยั่งยืนได้ ด้วยการที่พัฒนาคนและสังคมให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ เชื่อมโยงกับการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ รักษาไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนา อย่างสมดุล ซึ่งการดําเนินงานแก้ไขปัญหาทุกมิติ และการทํางานที่สอดรับกันของคณะทํางานในแต่ ละค้าน การพัฒนาคนให้เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา การประชุมหารือของคณะทํางานที่เกี่ยวข้องใน การแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง และการมีแผนบริการจัดการที่ชัดเจน ย่อมจะนํามาซึ่งการพัฒนา สืบสาน รักษา และต่อยอด การพัฒนาอย่างยั่งยืนen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932066 อนิรุจน์ อวดแรง.pdf6.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.