Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69699
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Manop Kaewmoracharoen-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Paskorn Champrasert-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Chuchoke Aryupong-
dc.contributor.authorBenya Suntaranonten_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:51:15Z-
dc.date.available2020-08-21T00:51:15Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69699-
dc.description.abstractThis research proposed a decision support system for Muang-Fai irrigation system, a traditional irrigation system of northern Thailand. The proposed system consists of four parts, (1) the customize land use and farming map receive the farming area and crop types data from farmers and weir controllers, transferring to farming areas, (2) the wireless sensor networks telemetry station against flash flood situation, named Mix-Key, (3) the modular framework of river weir operations for water resource management systems, simulating the discharge flowing through sluice gates, called LIλT, and (4) Appropriate Weir Adjustment with Water Requirement Deliberation (AWARD) decision support system which provides sluice gates level and sluice gates setting period for weir controllers. The customize land use and the farming map is already filled and continuously updated from farmers and weir controllers. The telemetry stations, Mix-Key, work on monitoring the water level against flooding events since 2012 with auto adaptive data transmission rate. The LIλT simulation model is applied and actually used by weir controllers. The LIλT provides the accurate sluice gates level according to water requirement. The average satisfying score by LIλT users is 4.11 from 5.00, means satisfying. The results of AWARD system is divided into three sections, the water level prediction, the sluice gates setting period estimation, and the sluice gates level calculation. The AWARD system provides the sluice level with acceptable accuracy, MAPE 4.38%, and the practical sluice gates adjustment recommendation for the weir controllers.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleA Decision Support System of Adaptive Area Information Model for Integrated Resource Management and Community Policyen_US
dc.title.alternativeระบบสนับสนุนการตัดสินใจด้วยแบบจำลองสารสนเทศพื้นที่แบบปรับเปลี่ยนได้เพื่อการจดัการทรัพยากรและนโยบายชุมชนแบบบูรณาการen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการบริหารจัดการน้ําด้วยองค์กรเหมืองฝายเป็นการบริหารจัดการน้ําในเขพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของ ประเทศไทย โดยมีแก่ฝ่ายเป็นผู้ดูแลปรับระดับประตูน้ําเพื่อจัดสรรน้ําเข้าสู่พื้นที่การเกษตรตามระดับ ความต้องการน้ําของพื้นที่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์น้ําและกฎเกณฑ์ดั้งเดิมของแก่ฝ่ายที่สืบทอดมา แก่ฝ่ายจะคาดการณ์สถานการณ์น้ําจากระดับน้ํา ณ จุดสังเกตของตน ร่วมกับประสบการณ์ในอดีตที่ ผ่านมาเพื่อประมาณการปรับระดับประตูน้ํา ในปัจจุบันสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงรวมไปถึง ลักษณะทางน้ําที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้ยากต่อการคาดการณ์สถานการณ์น้ําและการ ประมาณระดับประตูน้ํา ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสําหรับการปรับระคับประตูน้ําของระบบ บริหารจัดการน้ําแบบเหมืองฝายได้ถูกพัฒนาและประยุกต์ใช้ โดยมีพื้นที่ศึกษาที่อําเภอแม่จัน จังหวัด เชียงราย เป็นพื้นที่กรณีศึกษา ระบบสนับสนุนการตัดสินสําหรับการปรับระคับประตูน้ําของเหมือง ฝายประกอบด้วยส่วนหลักๆ 4 ส่วนคือ (1) แผนที่การใช้งานพื้นที่เพาะปลูกแบบปรับแต่งได้ตาม ระดับบัญชีของผู้ใช้งาน (2) สถานีโทรมาตรแบบส่งสัญญาณผ่านเครือข่ายเซนเซอร์ไร้สายระยะไกล เพื่อรองรับสถานการณ์น้ําป่า (Mix-Key) (3) แบบจําลองการไหลผ่านฝายแบบแบบปรับเปลี่ยนได้ ตามการเรียงตัวของเหมืองฝายในแม่น้ําแต่ละสาย (LIAT model) และ (4) ระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจสําหรับการปรับระดับประตูน้ําอย่างเหมาะสมด้วยการพิจารณาตามความต้องการน้ํา (AWARD, Appropriate Weir Adjustment with Water Requirement Deliberation), แผนที่ การใช้งานพื้นที่เพาะปลูกแบบปรับแต่งได้ตามระดับบัญชีของผู้ใช้งานได้ถูกนําไปให้กับผู้ใช้จริง (แก่ ฝายและเกษตรกรผู้ใช้น้ํา) โดยผู้ใช้กรอกข้อมูลด้วยตัวเองและปรับเปลี่ยนข้อมูลให้สอดคล้องกับการ เพาะปลูกจริงในปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง, สถานีโทรมาศแบบส่งสัญญาณผ่านเครือข่ายเซนเซอร์ไร้สาย ระยะไกลได้ถูกพัฒนาและติดตั้งเพื่อเก็บข้อมูลระดับน้ําอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 โดยมีการ ปรับเปลี่ยนอัตราการส่งข้อมูลให้ประหยัดพลังงานเพื่อรองรับสถานการณ์น้ําท่วมฉับพลัน แบบจําลองการไหลผ่านฝายแบบแบบปรับเปลี่ยนได้ตามการเรียงตัวของเหมืองฝายในแม่น้ําแต่ละ สายได้ถูกนํามาใช้งานกับพื้นที่อําเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย โดยแบบจําลองสามารถปรับระดับ ประตูน้ําได้อัตราการไหลที่สอดคล้องกับความต้องการน้ําและมีการสํารวจความพึงพอใจของผู้ใช้โดย มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ย 4.11 จากระดับคะแนนเต็ม 5.00, และ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สําหรับการปรับระดับประตูน้ําอย่างเหมาะสมด้วยการพิจารณาตามความต้องการน้ําโดยระบบมีส่วน การทํานายระดับน้ําเพื่อนําไปประมาณระยะเวลาการปรับประตูน้ําให้เหมาะสมกับสถานการณ์น้ําและ คํานวณระดับประตูน้ําให้สอดคล้องกับความต้องการน้ําของพื้นที่ ค่าระดับประตูน้ําจากระบบ สนับสนุนการตัดสินใจให้ค่าเฉลี่ยของร้อยละความผิดพลาดสัมบูรณ์ (MAPE) 4.38% และให้ ระยะเวลาการปรับประตูน้ําที่นําไปใช้ได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์น้ําen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
530651013 เบญญา สุนทรานนท์.pdf8.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.