Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69656
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนต์นภัส มโนการณ์ | - |
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร. ชูชีพ พุทธประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | ณัฐวุฒิ กันติ๊บ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-19T08:48:20Z | - |
dc.date.available | 2020-08-19T08:48:20Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69656 | - |
dc.description.abstract | This independent study on “Synthesis of Research on Educational Administration Graduate Program, Faculty of Education, Chiang Mai University” had the objectives to 1) analyze characteristics of research, 2) synthesize research, and 3) present research guidelines for Graduate students, majoring in Education Administration, Faculty of Education, Chiang Mai University. The study was divided into 3 steps as (1) Research Characteristic Analysis of Students: the research tools used were the research data recording form. The data were analyzed by the distribution of data frequency, and percentage, (2) Research Synthesis: the research tools included the consistent record of the research objectives and the direction of the professional standards of school administrators considering from (draft) the school administrators' professional standards B.E. 2562. The data were analyzed by content analysis. (3) Presentation of Research Guidelines for Students: the tool was the research guidelines of graduate students. The data were analyzed by content analysis. The findings revealed as follows: 1. The findings of the research characteristic analysis of students found that the most common basic information about the research was the Master of Education. The approved year from the university was in 2016. Most of the research was independent research. The school administrators were the common population and sample groups. The statistics used in data analysis were percentage and standard deviation. As a tool for data collection, most were interview forms. The suggestions of the study presented that it was the most suggestion at the school level. The researcher's position most are graduates in the Master of Education Program and most of them were teachers. Most of the researcher's position in the Doctor of Philosophy program was the director of the school. Moreover, the graduation period was mostly longer than the curriculum period. 2. The synthesis results of graduate researches, majoring in Education Administration, Faculty of Education, Chiang Mai University pointed out that the research objectives had the consistency with the direction of professional standards of school administrators (1) Master of Education Program was mostly as a School Management and Development group and the least common group was to create attachment and work with the community, (2) Doctor of Philosophy Program: most of them were groups to set the direction and strategy of the school. 3) Research guidelines for graduate students majoring in Education Administration: achieving Education Administration to publish research according to education levels and education plans including the higher-level quality of work, there were 6 related components, which were students, teachers, academic activities, extra-curricular activities, research framework/research issues as well as monitoring. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การสังเคราะห์งานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาวิชาเอกการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Synthesis of Research on Educational Administration Graduate Program, Faculty of Education, Chiang Mai University | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง การสังเคราะห์งานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิชาเอก การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อวิเคราะห์ เชิงคุณลักษณะงานวิจัย 2) เพื่อสังเคราะห์งานวิจัย และ 3) เพื่อนําเสนอแนวทางการทําวิจัยของ นักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา วิชาเอกการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แบ่งการศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน คือ (1) การวิเคราะห์เชิงคุณลักษณะงานวิจัยของนักศึกษา เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่แบบบันทึกข้อมูลลักษณะงานวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงข้อมูล ความถี่ และร้อยละ (2) การสังเคราะห์งานวิจัย เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบบันทึกความสอดคล้องของจุดประสงค์งานวิจัยกับ ทิศทางของมาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาจาก (ร่าง) มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหาร สถานศึกษา พ.ศ.2562 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (3) การนําเสนอแนวทางการทําวิจัย ของนักศึกษา เครื่องมือที่ใช้ได้แก่กรอบแนวทางทางการทําวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์เชิงคุณลักษณะงานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิชาเอก การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับงานวิจัย มากพบที่สุดเป็นศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ปีที่อนุมัติจากมหาวิทยาลัย พบมากที่สุดในพ.ศ. 2559 ประเภทงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นการค้นคว้าอิสระ ค้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็น ผู้บริหารสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนใหญ่เป็นร้อยละและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ส่วนใหญ่เป็นแบบสัมภาษณ์ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย พบว่าเป็นข้อเสนอแนะในระดับสถานศึกษามากที่สุด ตําแหน่งของผู้วิจัย ในหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ส่วนใหญ่เป็นตําแหน่งครู ตําแหน่งของผู้วิจัยในหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ส่วนใหญ่เป็นตําแหน่งผู้อํานวยการสถานศึกษา และการสําเร็จการศึกษา ส่วนใหญ่ใช้เวลาเกินระยะเวลาตามหลักสูตร 2. ผลการสังเคราะห์งานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิชาเอกการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า จุดประสงค์การวิจัยที่สอดคล้องกับทิศทางของ มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา (1) หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม การบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา และกลุ่มที่พบน้อยที่สุดเป็นการสร้างความผูกพันและ ทํางานร่วมกับชุมชน (2) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มการกําหนดทิศทางและ กลยุทธ์ของสถานศึกษา 3) แนวทางการทําวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิชาเอกการบริหารการศึกษา เพื่อให้ งานวิจัยสามารถตีพิมพ์เผยแพร่ตามระดับการศึกษาและแผนการศึกษา รวมถึงมีคุณภาพของผลงาน ที่อยู่ในระดับที่สูงขึ้น มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันใน 6 องค์ประกอบ ได้แก่ นักศึกษา อาจารย์ กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมเสริมหลักสูตร กรอบการวิจัย/ประเด็นการวิจัย และ การกํากับ ติดตาม | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590232102 ณัฐวุฒิ กันติ๊บ.pdf | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.