Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69655
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ตันชัยสวัสดิ์-
dc.contributor.authorณัฐพล จุ้ยฉุนen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:48:15Z-
dc.date.available2020-08-19T08:48:15Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69655-
dc.description.abstractThe objective of this thesis is to simulate a tunnel model constructed with a tunnel boring machine during construction and to analyze the behavior of the rock mass around the tunnel and the structure of the tunnel. From the project to increase the amount of water in the Mae Kuang Udom Thara reservoir in the Contract 1, Mae Taeng - Mae Ngad water tunnel by the Royal Irrigation Department Chiang Mai Province from the geological survey data at the entrance-exit number 2, all behavior was analyzed by the discrete element method using a three-dimensional model. With a focus on the study of rock mass behavior movement of tunnel structures, stress and strain behavior around the tunnel in the case that water has not sent into the tunnel yet. To be used as a guideline to control the behavior of rock movement around the tunnel, especially in the crown and side walls of the tunnel and the impact on the concrete components from the movement of the surrounding rock mass From the study of tunnel construction by tunnel boring machine, the construction can be classified into 4 steps which are 1) pre-construction step 2) Drilling process 3) Installation steps for precast concrete tunnel segments and step 4) to increase the stability of the rock mass around the tunnel by consolidation grouting. Therefore, the study begins with the process of installing the precast concrete segment as the field data with the motion measurements is done in the said construction process. In order to use it to create three-dimensional models using 3DEC in other construction steps, using data from the field. Resulting in a three-dimensional model that can be modified when needed for further use. From the processing of the tunnel construction model using tunnel boring machine. Has no vertical displacement at the tunnel ceiling position. Because the rock mass is in equilibrium stage in nature. Stress is distributed at the intersection rock joints and increases with depth. And has no strain occurs at this stage. In the process of excavation a tunnel. The displacement at ceiling is about 5.67 millimeters. The behavior is characterized by the movement of the down direction along the joint and the intersection of the rock mass. And there is a deflection on the ground of the tunnel And the behavior of major principal stress is concentrated on the walls of the tunnels that are dug and spread along the joints of the rock mass And there is a lot of strain on the ceiling of the tunnel. In the process of installing precast concrete components The highest movement is found at the ceiling and raised up at the bottom of the tunnel. The displacement is continue go further from the excavation step, And the displacement of ceiling is about 6.19 mm and the behavior of the major principal stress at the wall of the tunnel has slightly decreased. And strain on the tunnel ceiling slightly decreased after the installation of precast concrete components. In the process of improvement the stability of the tunnel, The direction of movement remains the same but there is only a small movement. The movement at the ceiling is approximately 6.21 mm. Stress - Strain does not change, because the rock mass has moves until it reaches the equilibrium point.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์พฤติกรรมของอุโมงค์ในหินที่ก่อสร้างด้วยเครื่องเจาะอุโมงค์โดยวิธีดิสครีตเอลิเมนต์en_US
dc.title.alternativeBehavior Analysis of Rock Tunnel Constructed by Tunnel Boring Machine Using Discrete Element Methoden_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจําลองอุโมงค์ที่ก่อสร้างด้วยเครื่องเจาะอุโมงค์ ขณะทําการก่อสร้าง และศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมของหินรอบอุโมงค์และโครงสร้างของอุโมงค์ ที่ก่อสร้างด้วยเครื่องเจาะอุโมงค์ จากโครงการเพิ่มปริมาณน้ําในอ่างเก็บน้ําเขื่อนแม่กวงอุดมธารา ในช่วงสัญญาที่ 1 ช่วงแม่แตง-แม่งัด ของกรมชลประทาน จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้ข้อมูลการสํารวจ ทางธรณีวิทยาบริเวณทางเข้า-ออกหมายเลข 2 โดยวิเคราะห์พฤติกรรมทั้งหมดด้วยวิธีดิสครีตเอลิเมนต์ ด้วยแบบจําลองสามมิติ โดยมุ่งเน้นในการศึกษาพฤติกรรมการเคลื่อนตัวของชั้นหิน การเคลื่อนตัวของ โครงสร้างอุโมงค์ และพฤติกรรมของความเค้นและความเครียดบริเวณรอบอุโมงค์ ในกรณีที่ยังไม่มี การส่งน้ําเข้าไปภายในอุโมงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางการควบคุมพฤติกรรมของการเคลื่อนตัวของมวล หินโดยรอบอุโมงค์โดยเฉพาะบริเวณส่วนเพดานและผนังด้านข้างของอุโมงค์ และผลกระทบต่อ ชิ้นส่วนคอนกรีตจากการเคลื่อนตัวของมวลหินโดยรอบ จากการศึกษาการก่อสร้างอุโมงค์ด้วยเครื่องเจาะอุโมงค์นั้นสามารถจําแนกลักษณะการ ก่อสร้างได้เป็น 4 ขั้นตอนคือ 1)ขั้นตอนก่อนการก่อสร้าง 2) ขั้นตอนการขุดเจาะ 3 ขั้นตอนการติดตั้ง ชิ้นส่วนอุโมงค์คอนกรีตหล่อสําเร็จ 4 ขั้นตอนการเพิ่มเสถียรภาพมวลหินรอบอุโมงค์โดยการเจาะอัด ฉีดน้ําปูน จึงทําการศึกษา โดยเริ่มจากขั้นตอนของการติดตั้งชิ้นส่วนอุโมงค์คอนกรีตหล่อสําเร็จ เนื่องจากข้อมูลภาคสนามที่มีการตรวจวัดค่าการเคลื่อนตัวนั้นกระทําในขั้นตอนการก่อสร้างดังกล่าว เพื่อที่จะใช้สร้างแบบจําลองสามมิติด้วยโปรแกรม 3DEC ในขั้นตอนการก่อสร้างอื่นๆ โดยใช้ข้อมูล จากภาคสนาม ทําให้ได้แบบจําลองสามมิติที่สามารถปรับเปลี่ยนได้เมื่อต้องการนําไปใช้ต่อจากการประมวลผลแบบจําลองขั้นตอนการก่อสร้างอุโมงค์ด้วยเครื่องเจาะอุโมงค์ ไม่มีค่า การเคลื่อนตัวในแนวดิ่งที่ตําแหน่งเพดานอุโมงค์ เนื่องจากมวลหินอยู่ในสภาพสมดุลในธรรมชาติ ค่าความเค้นมีการกระจายตัวทั่วทั้งมวลหินตามจุดที่เป็นรอยต่อที่ตัดกันและมีค่ามากขึ้นตามความลึก และไม่มีความเครียดเกิดขึ้นในขั้นตอนนี้ ในขั้นตอนการขุดเจาะอุโมงค์ มีค่าการเคลื่อนตัวประมาณ 5.67 มิลลิเมตร ลักษณะการเคลื่อนตัวจะเคลื่อนมากสุดที่เพดานในลักษณะยุบตัวลง และมีการโก่งตัว ขึ้นที่พื้นอุโมงค์ และพฤติกรรมความเค้นกระทําสูงสุดที่ผนังของอุโมงค์ที่ถูกขุดและกระจายออกไป ตามรอยต่อของมวลหิน และมีความเครียดเกิดขึ้นมากที่เพดานของอุโมงค์ ในขั้นตอนการติดตั้ง ชิ้นส่วนคอนกรีตหล่อสําเร็จ การเคลื่อนตัวมากที่สุดพบที่ส่วนเพดานและมีการโก่งตัวขึ้นที่พื้นอุโมงค์ และมีการเคลื่อนตัวต่อจากขั้นตอนการขุด และที่เพดานอุโมงค์มีค่าการเคลื่อนตัว 6.19 มิลลิเมตรและ พฤติกรรมของความเค้นสูงสุดที่ผนั่งของอุโมงค์แต่มีค่าลดลงเล็กน้อย และความเครียดที่เพดานอุโมงค์ ลดลงเล็กน้อยหลังจากการติดตั้งชิ้นส่วนคอนกรีตหล่อสําเร็จ ในขั้นตอนการเสริมเสถียรภาพของ อุโมงค์ ทิศทางการเคลื่อนตัวยังคงเดิมแต่มีการเคลื่อนตัวต่อเพียงเล็กน้อย การเคลื่อนตัวที่เพดานมี ค่าประมาณ 6.21 มิลลิเมตร ความเค้น - ความเครียด ไม่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากมวลหินเกิดการเคลื่อน ตัวจนใกล้สภาวะสมดุลen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580631094 ณัฐพล จุ้ยฉุน.pdf7.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.