Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69654
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศรัญญา กันตะบุตร-
dc.contributor.authorธัชพล เจริญจํารัสชีพen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:48:11Z-
dc.date.available2020-08-19T08:48:11Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69654-
dc.description.abstractThis independent study was aimed to investigate the motivation of Thai generation Y tourists towards travelling in Chiang Mai. The data was collected by using the questionnaires from 385 samples and analyzed by using descriptive statistics consisted of frequency, percentage and mean including the inferential statistics consisted of T-test. The results were as follows: The findings revealed that the respondents were single female with the age of 25 years. They educated in undergraduate and were private employees with the average salary around 15,000 – 30,000 baht. These respondents lived in central region, Bangkok. The results of behavior aspect indicated that the respondents took a journey for travelling in Chiang Mai province with their friends. Their first travelling in Chiang Mai spent averaged for 3 days. They took a journey to Chiang Mai by plane and used a car as a vehicle for travelling in Chiang Mai province. The respondents preferred to live in a hotel. Their friends affected to their decision to travel in Chiang Mai province. The averaged expenses were during 3,001 to 4,500 for once. The travel program was managed by them. They preferred to travel in Chiang Mai on their available time. The results of motivation aspect found that for the highest significant push factors were relaxation need. The next below was travelling need with their family/ relatives/ friends, a voiding the platitude in daily life, exploring new experiences in the places and spending life without any rush. For the highest significant pull factors were many attractions located in Chiang Mai for instance temple/ natural sources/ shopping center/ entertainment venues/. The second was various types of attraction such as natural sources, cultural sources/ entertainment venues including the cool weather in a cold season. The data was divided by gender, age, and salary then analyzed. For the push factor revealed that the respondents who had different gender emphasized the need of exploring new experiences in the new places and local culture differently. The female prioritized the according aspect more than male. The respondents who had different age emphasized the need of paying respect to the Buddha differently. The people with the age up to 30 years prioritized to pay respect to the Buddha more than the younger. The respondents who got the different salary prioritized to avoid the platitude in their daily life and pay respect to the Buddha differently. The people who earned up to 30,000 baht per a month emphasized above needs more than the people who earned less than 15,000 – 30,000 baht. For the pull factor revealed that the respondents who had different gender prioritized about the comfortability of accessible tourist attractions differently. The female emphasized the according aspect more than male. The different age of the respondents affected to the priority of Lanna architecture differently which the people who were up to 30 years old emphasized above aspect more than the younger.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแรงจูงใจของนักท่องเทียวชาวไทยเจเนอเรชันวายต่อการมาเทียว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMotivation of Thai Generation Y Tourists Towards Visiting Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาแรงจูงใจของนักท่องเทียวชาวไทยเจเนอเร ชันวายต่อการมาเทียวจังหวัดเชียงใหม่ ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จํานวน ราย และนําข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลีย และ สถิติอนุมาน ได้แก่ t-test ซึงสามารถสรุปผลการศึกษาได้ดังต่อไปนี ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ต่อเดือน ระหว่าง , -, บาท อาศัยอยู่ในภาคกลาง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาด้านพฤติกรรมพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมเดินทางมาท่องเทียว จังหวัดเชียงใหม่กับกลุ่มเพือน มาท่องเทียวจังหวัดเชียงใหม่เป็นครังแรก ใช้ระยะเวลาเฉลียในการ ท่องเทียวจังหวัดเชียงใหม่ วัน ใช้เครืองบินเป็นพาหนะในการเดินทางมายังจังหวัดเชียงใหม่ ใช้ รถยนต์ส่วนตัวเป็นพาหนะในการเดินทางท่องเทียวภายในจังหวัดเชียงใหม่ นิยมเลือกพักทีโรงแรม ผู้ มีอิทธิพลในการตัดสินใจมาท่องเทียวจังหวัดเชียงใหม่คือกลุ่มเพือน มีค่าใช้จ่ายในการท่องเทียว จังหวัดเชียงใหม่เฉลียต่อครังระหว่าง , ถึง , บาท จัดรายการท่องเทียวด้วยตนเอง และนิยมมา ท่องเทียวจังหวัดเชียงใหม่ในช่วงเวลาตามสะดวก ผลการศึกษาด้านแรงจูงใจพบว่า ด้านปัจจัยผลักทีมีระดับความสําคัญมากทีสุดได้แก่ ต้องการ พักหย่อนใจ รองลงมาเป็นความต้องการท่องเทียวกับครอบครัว/ญาติพีน้อง/เพือนฝูง ต้องการหลีกหนี ความจําเจในชีวิตประจําวัน ต้องการพบสิงแปลกใหม่ในสถานทีใหม่ๆ และต้องการใช้ชีวิตทีไม่เร่งรีบ ส่วนด้านปัจจัยดึงทีมีระดับความสําคัญมากทีสุดคือ มีจํานวนสถานทีท่องเทียวมากมายให้นักท่องเทียว เลือกใช้บริการ เช่น วัด/แหล่งท่องเทียวธรรมชาติ/ย่านการค้า/สถานบันเทิง หลายแห่ง รองลงมาเป็น ความหลากหลายของประเภทสถานทีท่องเทียว เช่น แหล่งท่องเทียวธรรมชาติ แหล่งท่องเทียวทาง วัฒนธรรม สถานบันเทิง เป็นต้น ความสวยงามทางธรรมชาติ ความมีเอกลักษณ์ของสถานทีท่องเทียว และมีอากาศทีเย็นสบายในช่วงฤดูหนาว เมือทําการวิเคราะห์ข้อมูลแยกตามเพศ อายุ และรายได้ต่อเดือน ด้านปัจจัยผลักพบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามทีมีเพศต่างกัน ให้ความสําคัญแตกต่างกันในเรืองความต้องการพบสิงแปลกใหม่ใน สถานทีใหม่ๆ และความต้องการศึกษาวัฒนธรรมท้องถิน โดยเพศหญิงให้ความสําคัญมากกว่าเพศชาย ผู้ตอบแบบสอบถามทีมีอายุต่างกัน ให้ความสําคัญแตกต่างกันในเรืองความต้องการมาไหว้พระ โดยผู้ ทีมีอายุ ปีขึนไป ให้ความสําคัญมากกว่าผู้ทีมีอายุน้อยกว่า ปี ผู้ตอบแบบสอบถามทีมีรายได้ต่อ เดือนต่างกัน ให้ความสําคัญแตกต่างกันในเรืองความต้องการหลีกหนีความจําเจในชีวิตประจําวัน และ ความต้องการมาไหว้พระ โดยผู้ทีมีรายได้ , บาทต่อเดือนขึนไป ให้ความสําคัญมากกว่าผู้ทีมี รายได้น้อยกว่า , – , บาท ด้านปัจจัยดึงพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทีมีเพศต่างกัน ให้ความสําคัญแตกต่างกันในเรือง ความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งทีท่องเทียว โดยเพศหญิงให้ความสําคัญมากกว่าเพศชาย ผู้ตอบ แบบสอบถามทีมีอายุต่างกัน ให้ความสําคัญแตกต่างกันในเรืองสถาปัตยกรรมล้านนา โดยผู้ทีมีอายุ ปีขึนไป ให้ความสําคัญมากกว่าผู้ทีมีอายุน้อยกว่า ปีen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532029 ธัชพล เจริญจำรัสชีพ.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.