Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์-
dc.contributor.authorยิ่งยศ ปลาทองen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:47:17Z-
dc.date.available2020-08-19T08:47:17Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69643-
dc.description.abstractThe purposes of this research were (1) to examine the relationships between perceived role ambiguity and turnover intention of employees working at a pulp and paper factory and (2) to study the moderating role of problem-focused coping strategy in relationships between perceived role ambiguity and turnover intention of those employees The correlational research design was used. The sample was 300 factory workers. One hundred percent of the questionnaire were return. Research instruments consisted of demographic questionnaire, perceived role ambiguity scale, turnover intention scale and problem-focused coping strategy scale. Data were analyzed by using Pearson Product Moment Correlation and Hierarchical Multiple Regression Analysis test by Frazier, Tix, and Barron (2004). The research findings were as follows: 1. Perceived role ambiguity had a significantly positive correlation with turnover intention at the .01 level (r = .168). 2 Problem-focused coping strategy had a significantly negative correlation with turnover intention at the .01 level (r = -.277) 3. Problem-focused coping strategy could not be significantly a moderator in the relationship between perceived role ambiguity and turnover intentionen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้บทบาทที่คลุมเครือในการทางานกับความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษแห่งหนึ่ง: บทบาทการเป็นตัวแปรปรับของกลวิธี การเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหาen_US
dc.title.alternativeRelationship Between Perceived Role Ambiguity and Turnover Intention of Employees in a Pulp and Paper Factory: The Moderating Role of Problem-Focused Coping Strategyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ บทบาทที่คลุมเครือในการทา งานกับความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงาน และ (2) เพื่อศึกษา บทบาทการเป็นตัวแปรปรับของกลวิธีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหาของพนักงานใน ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้บทบาทที่คลุมเครือในการทา งานกับความตั้งใจลาออกจากงานของ พนักงาน รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ พนักงานใน โรงงานผลิตเยื่อและกระดาษที่ปฏิบัติงานในสายงานปฏิบัติการและสายงานสนับสนุน จานวน 300 คน และได้รับแบบสอบถามแบบสมบูรณ์กลับคืนมาจานวน 300 คน คิดเป็นอัตราการตอบกลับ ร้อยละ 100 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบสอบถามคุณลักษณะส่วนบุคคล แบบวัดความตั้งใจลาออกจากงาน แบบวัดการรับรู้บทบาทที่คลุมเครือในการทา งาน และแบบวัด กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหา การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบลา ดับขั้นโดยใช้วิธีการของ Frazier, Tix, and Barron (2004) ผลการวิจัยพบว่า 1. การรับรู้บทบาทที่คลุมเครือในการทา งานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความตั้งใจลาออกจาก งานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษแห่งหนึ่ง อย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์เท่ากับ .168 2. กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหามีความสัมพันธ์ทางลบกับความตั้งใจลาออกจากงาน ของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษแห่งหนึ่ง อย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดย มีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์เท่ากับ -.277 3. กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหาไม่เป็นตัวแปรปรับในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ บทบาทที่คลุมเครือในการทา งานกับความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อ และกระดาษแห่งหนึ่งen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132013 ยิ่งยศ ปลาทอง.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.