Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมกร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorชนิตา คำแดงใหญ่en_US
dc.date.accessioned2020-08-18T02:43:25Z-
dc.date.available2020-08-18T02:43:25Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69621-
dc.description.abstractThis independent study aimed to study to reduce lead time of production process Trash Compactor by Safran Cabin Lamphun Company Limited, Which the objective is reduced lead time at least 15% currently there is a problem about Trash Compactor and Sub Assembly production is not finish as per plan. According to data for the past 1 year of production orders can be completed on time by average of 80.62% and by the average of 13.98 % late as per company’s KPI target to complete by 95% on time. Therefore the percentage of Trash compactor products is lower than target. In addition, the lead time the Enterprise Resource Planning (ERP) system's current production process is 12.09 days. Therefore, the study wishes to reduce the average lead time at least 15% This study was conducted to reduce lead time by using lean techniques to increase efficiency in production by create questionnaire using tools Time observation Value Stream Mapping before and after improvement then using lean techniques Kanban System Waste analysis ECRS techniques Visual Management Kaizen Continuous improvement The result of study showed production process waste in activities non-value added and non-value added but necessary 4,711 minutes when applying the Lean techniques mentioned above which can reduce the lead time 1,621 minutes, average to 16.5% when referring to statistical data, lead time of production order from the Enterprise Resource Planning (ERP) after the improvement can reduce the lead time 18.61% average and found that the amount work order 289 work orders which can be completed according to the production plan 282 orders presented as a percentage of the orders that are finish on time averaging 97.05 % and average of 2.95 % late which can achieve the target according to the company’s key performance indicator (KPI) and can producework that can be completed at the target of production work to be completed at 95%en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดเวลานำโดยเทคนิคแบบลีนของกระบวนการผลิตเครื่องบดอัดขยะ บริษัท ซาฟราน เคบิน ลำพูน จำกัดen_US
dc.title.alternativeLead Time Reduction Through Lean Technique for Trash Compactor Production of Safran Cabin Lamphun Company Limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการลดเวลานํากระบวนการผลิต เครื่องบดอัดขยะ (Trash Compactor) ของบริษัทซาฟราน เคบิน ลําพูน จํากัด โดยมีเป้าหมายคือ ค่าเฉลี่ยเวลานําลดลงอย่างน้อย 15 % บริษัทซาฟราน เคบิน ลําพูน ปัจจุบันพบปัญหาว่าสายการผลิต เครื่องบดอัดขยะผลิตสินค้าสําเร็จรูปและชิ้นส่วนย่อยต่างๆ ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ จากข้อมูลทาง สถิติย้อนหลัง 1 ปีใบคําสั่งผลิตที่ผลิตเสร็จภายในเวลาที่กําหนดเฉลี่ยคิดเป็น 80.62 % และเสร็จช้ากว่า กําหนดเฉลี่ยคิดเป็น 19.38 % ซึ่งเห็นได้ว่าเปอร์เซ็นต์งานที่ผลิตเสร็จตามกําหนดเฉลี่ยต่ํากว่าเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ตามดัชนีชี้วัดผลงานขององค์กรที่ 95 % อีกทั้งเวลานําทั้งกระบวนการผลิตเชิงระบบการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม (Enterprise Resource Planning : ERP) ในปัจจุบันอยู่ที่จํานวน 12.09 วัน ดังนั้นทางผู้ศึกษามีความประสงค์ที่จะลดค่าเฉลี่ยเวลานําลดลงอย่างน้อย 15% ผู้ศึกษาได้ทําการศึกษาการลดเวลานําโดยใช้เทคนิคแบบลืนเข้ามาช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและลดเวลานําในการผลิต โดยทําแบบสอบถามพนักงานในสายการผลิตเครื่องบดอัด ขยะ ใช้เครื่องมือตารางเวลาสังเกตการณ์ การสร้างแผนผังสายธารคุณค่าก่อนการปรับปรุงและหลัง การปรับปรุง จากนั้นได้นําการใช้เทคนิคแบบลีน คือ เครื่องมือปรับปรุงอัตราการไหล ได้แก่ ระบบคัมบัง เทคนิคอีซีอาร์เอส (ECRS) การวิเคราะห์ความสูญเปล่า ระบบการบริหารด้วยการมองเห็น ด้วยสายตา Kaizen หรือ การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการผลิตเกิดการสูญเปล่าจากเวลาที่ไม่เพิ่มคุณค่า และไม่ เพิ่มคุณค่าแต่จําเป็นต้องทําเป็นอยู่ที่ 4,71 นาที เมื่อนําเทคนิคแบบลีนที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นมาปรับ ใช้พบว่าสามารถลดเวลานําลงได้ 1,621 นาทีคิดเป็น 16.5% เมื่ออ้างอิงข้อมูลสถิติระยะเวลานําใบคําสั่งผลิตจากระบบการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม (Enterprise Resource Planning : ERP) หลังจากทําการปรับปรุงกระบวนการสามารถลดเวลานําเชิงระบบได้ 18.61 % จํานวนใบคําสั่ง ผลิตที่ทําการวางแผนหลังจากปรับใช้เทคนิคของลีน 2 เดือนมีจํานวน 289 ใบคําสั่งผลิต สามารถ ทํางานเสร็จได้ตามแผนการผลิต 282 ใบคําสั่งผลิต เมื่อนํามาแสดงเป็นเปอร์เซ็นต์สามารถผลิตงาน เสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนดค่าเฉลี่ยเท่ากับ 97.05 % และเสร็จช้ากว่ากําหนดจํานวนเฉลี่ยเท่ากับ 2.95% ซึ่งสามารถบรรลุเป้าหมายตามดัชนีชี้วัดผลงาน (KPI) ผลิตงานให้เสร็จตามเวลาที่ 95%en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532128 ชนิตา คำแดงใหญ่.pdf5.44 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.