Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69615
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.วรรณนิภา บุญระยอง-
dc.contributor.authorชนากานต์ จันทร์สุขen_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:46:08Z-
dc.date.available2020-08-17T01:46:08Z-
dc.date.issued2020-04-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69615-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to examine the effect of Thai folk dance programs on the depression, hope, and meaning in life in female inpatients with major depressive disorder and to compare the effect between usual care and Thai folk dance with usual care. In terms of utilized research methodology, this study has been two groups pre-test-post-test quasi-experimental designed to compare the average score of depression, hope, and meaning in life. A sample of 24 female inpatients with major depressive disorder from purposive sampling who has voluntarily participate in Thai folk dance with usual care (experimental group) or usual care (control group). Data were analyzed by paired t-test and independent t-test. The result shows that the post-test, Thai folk dance programs with usual care (experimental group) have a normal level of depression, the average score of hope and meaning in life show a significant increase (p < .05). In comparison between groups show an average score of depression and hope with no significant difference but a significant difference in the average score of meaning in life (p < .05).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการบำบัดด้วยการฟ้อนรำไทยพื้นบ้านต่ออาการ ซึมเศร้า ความหวัง และความหมายในชีวิตของผู้ป่วยโรค ซึมเศร้าเพศหญิงen_US
dc.title.alternativeEffects of Thai Folk Dance Intervention on Depression Symptoms, Hope and Meaning in Life of Female Patients with Major Depressionen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการบำบัดด้วยการฟ้อนรำไทยพื้นบ้านต่อ อาการซึมเศร้า ความหวังและความหมายในชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเพศหญิง และเปรียบเทียบผล ของการบำบัดระหว่างกลุ่มควบคุมที่ได้รับการรักษาปกติของโรงพยาบาลสวนปรุง กับกลุ่มทดลองที่ ได้รับโปรแกรมการฟ้อนรำไทยพื้นบ้านร่วมกับการรักษาปกติของโรงพยาบาลสวนปรุง ทดสอบ เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้า ความหวัง และความหมายในชีวิต ก่อนและหลังการ ทดลองโดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 24 คน เลือกเข้ากลุ่มโดยสมัครใจ แบ่งเป็น กลุ่มควบคุมที่ได้รับการรักษาปกติของโรงพยาบาลสวนปรุงจำนวน 12 คน และกลุ่มทดลองที่ได้รับ การฟ้อนรำไทยพื้นบ้านร่วมกับการรักษาปกติของโรงพยาบาลสวนปรุงจำนวน 12 คน วิเคราะห์ข้อมูล ด้วย paired t-test และ independent t-test ผลการศึกษาพบว่าหลังการทดลองพบว่ากลุ่มทดลองมี คะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าลดลงสู่ระดับปกติ มีความหวังและความหมายในชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ p < .05 เมื่อเปรียบเทียบผลการทดลองระหว่างกลุ่มพบว่าคะแนนเฉลี่ยของภาวะ ซึมเศร้า และความหวังไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พบว่าคะแนนเฉลี่ยของความหมายใน ชีวิตแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p < .05en_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591131029 ชนากานต์ จันทร์สุข.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.