Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ชญานิษฐ์ จำปี-
dc.contributor.authorเจนจิรารักษ์ ฤทธิ์ปัญจะen_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:45:57Z-
dc.date.available2020-08-17T01:45:57Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69613-
dc.description.abstractComputed Tomography (CT) is a medical imaging procedure which produces a number of cross-sectional images of a scanned patient for diagnostic purposes. Taking many X-ray exposure from different angles to obtain those images, the procedure inevitably imposes on the patient higher dose than conventional radio-imaging procedures. This study is therefore aimed to determine absorbed dose in pelvic organs using a computer code, A General Monte Carlo N-Particle Transport Code version 5 (MCNP5). The MCNP5 simulation model is successfully validated by comparing a set of absorbed doses calculated from MCNP5 and a set of direct measurements based on 19 OSL nanodot dosimeters in RANDO phantom. The validated MCNP5 models used to determine absorbed doses of urinary bladder, uterus, prostate gland and ovaries of 4 individual patients (male1, male2, female1 and female2). The results show that eleven absorbed doses of internal organs from MCNP5 and OSL dosimeters are in good agreements as their differences are less than 10 percent. However, eight absorbed doses from skin area are observed to have their differences higher than 10 percent. When using MCNP5 to evaluate absorbed dose in pelvic organs from CT procedure, it shows that the maximum doses are 28.27 cGy and 37.79 cGy at urinary bladders for male1 and male2, respectively. In case of two female patients, the maximum absorbed doses are 76.89 cGy and 77.96 cGy at uterus for female1 and female2, respectively which are inversely proportionally to an effective diameter of a patient. The correlation test of absorbed dose between MCNP5 calculation and dose length product (DLP) exhibits a very weak correlationwith Pearson product-moment correlation coefficient (r) equal to 0.031 (p-value 0.05). It is concluded that MCNP5 is an effective tool to evaluate absorbed doses in important organs from CT procedure and subsequently contributes to the assessment of the radiation risk for patientsen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ใช้โปรแกรม มอนติ คาร์โล เอ็น พาร์ติเคิล เพื่อพัฒนาวิธีการคำนวณปริมาณรังสีดูดกลืนในอวัยวะบริเวณช่องเชิงกราน จากการตรวจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์en_US
dc.title.alternativeApplication of Monte Carlo N-Particle Program for Developing of Absorbed Dose Calculation Methodology in Pelvic Organs from Computed Tomography Procedureen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) เป็นเครื่องมือทางรังสีวินิจฉัยที่สามารถสร้างภาพตัดขวางเพื่อใช้ในการวินิจฉัยผู้ป่วย การใช้รังสีเอกซ์ในหลายทิศทางเพื่อสร้างภาพเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีสูงกว่าการถ่ายภาพรังสีแบบทั่วไป การศึกษานี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มอนติ คาโล เอ็น พาร์ติเคิล 5 (MCNP5) ในการประเมินปริมาณรังสีดูดกลืนของอวัยวะช่องเชิงกรานจากการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ แบบจำลอง MCNP5 ถูกนำมาสอบเทียบความถูกต้องโดยทำการเปรียบเทียบปริมาณรังสีดูดกลืนที่ได้จากการคำนวณจากสถานการณ์การวัดที่เหมือนกับการวัดปริมาณรังสีจริงด้วยแบบจำลอง MCNP5 และการวัดรังสีโดยตรงด้วยอุปกรณ์วัดรังสีชนิด OSL nanodot จำนวน 19 ตำแหน่งในหุ่นจำลองแรนโด จากนั้นนำแบบจำลองที่ถูกสอบเทียบแล้วเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง MCNP5 จากนั้นนำแบบจำลองที่ตรวจสอบความถูกต้องแล้วไปประเมินปริมาณรังสีดูดกลืนของกระเพาะปัสสาวะ มดลูก ต่อมลูกหมากและรังไข่ของผู้ป่วยรายบุคคล จำนวน 4 ราย (male1, male2, female1 และ female2) ผลการศึกษาพบว่าปริมาณรังสีดูดกลืนของอวัยวะภายใน 11 ตำแหน่ง ที่คำนวณได้จาก MCNP5 กับการวัดรังสีจาก OSL nanodot มีค่าที่ใกล้เคียงกันด้วยร้อยละความแตกต่างน้อยกว่า 10 อย่างไรก็ตาม มีปริมาณรังสีที่วัดได้บริเวณพื้นผิวของแฟนทอม 8 ตำแหน่ง มีค่าร้อยความแตกต่างเกินร้อยละ 10 เมื่อประยุกต์ใช้แบบจำลอง MCNP5 ในการประเมินปริมาณรังสีดูดกลืนของอวัยวะภายในช่องเชิงกรานจากการตรวจด้วย CT พบว่ามีค่าปริมาณรังสีสูงสุดเท่ากับ 28.27 cGy และ 37.79 cGy ที่ตำแหน่งของกระเพาะปัสสาวะสำหรับแบบจำลอง Male1 และ Male2 ตามลำดับ สำหรับแบบจำลองในผู้ป่วยเพศหญิง 2 ราย พบว่า มีค่าปริมาณรังสีดูดกลืนสูงสุดเท่ากับ 76.89 cGy และ 77.96 cGy ตามลำดับที่ตำแหน่งมดลูก ซึ่งแปรผกผันกับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางยังผลของผู้ป่วยแต่ละราย การทดสอบสหสัมพันธ์ของปริมาณรังสีดูดกลืนระหว่าง การคำนวณด้วยแบบจำลอง MCNP5 และปริมาณรังสีเฉลี่ยต่อระยะทาง (DLP) พบว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ ที่ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน (r) เท่ากับ 0.44 (ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05) ดังนั้นการคำนวณปริมาณรังสีดูดกลืนของอวัยวะสำคัญจากการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ด้วย แบบจำลอง MCNP5 ถือว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งที่สามารถนำมาประเมินความเสี่ยงจากรังสีของผู้ป่วยได้ดีen_US
Appears in Collections:AMS: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.