Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ. ดร. กานดา หวังชัย-
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ สวาทนุชen_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:45:52Z-
dc.date.available2020-08-17T01:45:52Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69612-
dc.description.abstractStudy of electrolyzed oxidizing water (EO) and ultrasonic wave (US) for microbial contaminants reduction in sweet basil during storage were invertigatecl. Electrolyzed water was adjusted for total free chlorine concentration at 10, 20, 30, 40 and 50 ppm and pH and ORP were measured. In case of ultrasonic wave with various frequencies of 43, 200, 500 and 1000 kHz were used. Washing sweet basil leave with those conditions for 10 minutes and examining the 4 types of microoganisms including total plate count (TC), total coliform bacteria (EC), yeast and mold (YM), and Salmonella spp. The results showed that EO treatment with 30 ppm (pH 3.38, ORP 224 mV) and US with 200 kHz performed the best results of microbial reduction but it was not found for Salmonella spp. Sweet basil were washed in the combination treatments of EO and US, the treated sample also significantly reduced microorganisms. It also was not found Salmonella spp. Then all treatments werekept in 13 °C for 5 day and sampling everyday for the qualities. It was found that sweet basil washing with EO combination with US, were not effect weight loss, chlorophyll content, leaf color change and customer acceptance when compared with control (distilled water).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้น้ำอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นกรดและคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อลดจุลินทรีย์ปนเปื้อนในโหระพา(Ocimum basilicum Linn.)ระหว่างการเก็บรักษาen_US
dc.title.alternativeUsing of Acidic Electrolyzed Water and Ultrasonic Wave for Microbial Contaminants Reduction in Sweet Basil (Ocimum basilicum Linn.) During Storageen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractศึกษาการใช้น้ําอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นกรดและคลื่นเสียงความถี่สูงต่อลดการปริมาณของปริมาณ เชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนในโหระพาระหว่างการเก็บรักษา นําน้ําอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นกรดมาปรับความ เข้มข้นโดยให้มีค่าคลอรีนอิสระ เท่ากับ 10, 20, 30, 40 และ 50 ppm รวมทั้งวัดค่า pH และ Oxidation Reduction Potential (ORP) สําหรับคลื่นเสียงความถี่สูงได้ทดสอบที่ความถี่ต่างๆ ได้แก่ 43,200, 500 และ 1000 kHz และนําน้ําอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นกรดและคลื่นเสียงความถี่สูงตามความเข้มข้นและความถี่ ข้างต้นมาทําการล้างโหระพาเป็นเวลา 10 นาที และทําการตรวจสอบปริมาณเชื้อ 4 ชนิด ได้แก่ ปริมาณ ของจุลินทรีย์ทั้งหมด (total plate count: TC) ปริมาณของโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด (total coliform bacteria: EC) ปริมาณของยีสต์และราทั้งหมด (yeast and mold, YM) และปริมาณของเชื้อ Salmonella spp. จากผลการทดลอง พบว่า น้ําอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นกรดความที่เข้มข้น 30 ppm ที่มีค่า pH เท่ากับ 3.38 และค่า ORP เท่ากับ 224 mV และคลื่นเสียงความถี่สูง 200 kHz สามารถลดปริมาณจุลินทรีย์ ได้ดี ที่สุด และไม่พบเชื้อ Salmonella spp. และนําโหระพามาล้างด้วยน้ําอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นกรดร่วมกับ คลื่นเสียงความถี่สูง พบว่า สามารถลดเชื้อจุลินทรีย์ได้ดีและไม่พบ Salmonella spp. เช่นเดียวกัน จากนั้นนํามาทําการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 วัน ตรวจวัดคุณภาพทุกวัน ได้แก่ เปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ําหนัก ปริมาณคลอโรฟิลล์ การเปลี่ยนแปลงสีใบ และการยอมรับของ ผู้บริโภค พบว่า การล้างด้วยน้ําอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นกรดร่วมกับคลื่นเสียงความถี่สูง ไม่มีผลแตกต่าง กันในด้านคุณภาพ เมื่อเปรียบเทียบกับการล้างน้ํากลั่น (ชุดควบคุม)en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531087 จุฑารัตน์ สวาทนุช.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.