Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69609
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.เพื่อนใจ รัตตากร-
dc.contributor.authorติรยา พึ่งตระกูลen_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:45:29Z-
dc.date.available2020-08-17T01:45:29Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69609-
dc.description.abstractThe M.D. Anderson Dysphagia Inventory (MDADI) is a dysphagia-specific quality of life instrument to evaluate the impact of dysphagia on the quality of life in patients with head and neck cancer. The MDADI has been translated by a cross-cultural adaptation process and validated in many languages. However, there is no dysphagia-specific quality of life standardized instrument to measure the quality of life in patients with head and neck cancer in Thailand. The purpose of this study is to translated and validated The MDADI into Thai language by a cross-cultural adaptation process and determine the reliability of the Thai version of the M.D. Anderson Dysphagia Inventory (MDADI- TH). Additionally, a correlation between dysphagia severity and the quality of life in patients with head and neck cancer was verified. The original MDADI questionnaires were translated into Thai and validated by 6 steps of the cross-cultural adaptation process including forward translation, translation synthesis, backward translation, expert committee review, pretesting, and final proof reading. The reliability was determined by internal consistency and test-retest reliability. A total of twenty-nine head and neck cancer patients were able to complete the same translated MDADI questionnaires in two weeks after first enrollment. The MDADI-TH subscale and total scores showed acceptable internal consistency reliability (ranged from 0.71- 0.94). Similarly, Test-retest reliability was statistically significant (p < 0.05). For a correlation between the quality of life and dysphagia severity, a total of sixty patients were able to examined swallowing ability by VFSS. Therefore, the patients were included in an analysis of the correlation study. Correlation between the dysphagia severity and the quality of life was significant in total scores, emotional subscale, and function subscale (p < 0.05). In conclusion, The Thai version of the MDADI was showed good reliability. Therefore, the MDADI- TH can be a dysphagia-specific quality of life standardized instrument to measure the quality of life in Thai patients with head and neck cancer. These patients with more severity of dysphagia showed compromising on the quality of life, especially in emotional and functional domains.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความตรงและความเที่ยงของแบบวัดคุณภาพชีวิต M.D. Anderson DysphagiaInventoryฉบับ ภาษาไทยและความสัมพันธ์ระหว่าง คุณภาพชีวิตกับระดับ ความรุนแรงของภาวะกลืนลำบากในผู้ป่วย โรคมะเร็งศีรษะและลำคอen_US
dc.title.alternativeThe Validity and Reliability of the Thai Version of the M.D. Anderson Dysphagia Inventory and Correlation Between Quality of Life and Dysphagia Severity in Patients with Head and Neck Canceren_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแบบวัดคุณภาพชีวิต M.D. Anderson Dysphagia Inventory (MDADI) เป็นเครื่องมือวัดคุณภาพ ชีวิตเฉพาะเจาะจงอาการกลืนลําบากที่ใช้ประเมินผลกระทบของภาวะกลืนลําบากต่อคุณภาพชีวิตใน ผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและลําคอ แบบวัดคุณภาพชีวิต MDADI ได้ถูกนํามาแปลผ่านกระบวนการปรับ ข้ามวัฒนธรรมและตรวจสอบความตรงในหลายภาษา อย่างไรก็ตามยังไม่มีแบบวัดคุณภาพชีวิตที่ เฉพาะเจาะจงอาการกลืนลําบากที่ใช้ประเมินคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและลําคอสําหรับ ประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนําแบบวัดคุณภาพชีวิต MDADI มาแปลเป็น ภาษาไทยและทดสอบความตรงโดยผ่านกระบวนการปรับข้ามวัฒนธรรมและตรวจสอบความเที่ยง ของแบบวัดคุณภาพชีวิต the M.D. Anderson Dysphagia Inventory ฉบับภาษาไทย (MDADI-TH) พร้อมทั้งทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตกับความรุนแรงของภาวะกลืนลําบากในผู้ป่วย โรคมะเร็งศีรษะและลําคอ โดยนําแบบวัดคุณภาพชีวิต MDADI ต้นฉบับมาแปลเป็นภาษาไทยและ ตรวจสอบความตรงด้วยกระบวนการปรับข้ามวัฒนธรรมที่มีขั้นตอนทั้งหมด 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย การแปลไปข้างหน้า (forward translation) การสังเคราะห์แบบวัดฉบับแปล (Synthesis of the translations) การแปลย้อนกลับ (back translation) การพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ (expert committee review) การทดสอบแบบวัดฉบับทดลองใช้ (pretesting) และการตรวจพิสูจน์อักษร (final proofreading) สําหรับการตรวจสอบความเที่ยงนั้นใช้การทดสอบความสอดคล้องภายใน (internal consistency reliability) และการทดสอบความเที่ยงแบบวัดซ้ํา (test-retest reliability)ในกลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและลําคอที่สามารถทําการประเมินแบบวัดคุณภาพชีวิต MDADI ที่ผ่านการแปลครบ 2 ครั้งในเวลา 2 สัปดาห์หลังจากวันแรกที่เข้าร่วมการวิจัย จํานวน 29 คน พบว่าคะแนน คุณภาพของแบบวัดคุณภาพชีวิต MDADI-TH ทั้งคะแนนด้านย่อยและคะแนนรวมมีค่าความ สอดคล้องภายในที่ยอมรับได้ (อยู่ในช่วง 0.71 0.94) เช่นเดียวกับค่าความเที่ยงแบบวัดซ้ำาที่บ่งชี้ว่ามี นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตและความรุนแรง ของภาวะกลืนลําบาก พบว่ามีผู้ป่วยจํานวน 60 คนสามารถเข้ารับการประเมินการกลืนด้วย VFss ได้ จึงนําข้อมูลมาวิเคราะห์ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตและความรุนแรงของภาวะ กลืนลําบากซึ่งพบว่าระดับความรุนแรงของภาวะกลืนลําบากและคะแนนคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์ กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) ทั้งในคะแนนรวม คะแนนคุณภาพชีวิตด้านอารมณ์ และ คะแนนคุณภาพชีวิตด้านความสามารถในการดําเนินชีวิต จึงสรุปได้ว่า แบบวัดคุณภาพชีวิต MDADI ฉบับภาษาไทยมีความเที่ยงที่ดี ดังนั้นแบบวัดคุณภาพชีวิต MDADI ฉบับภาษาไทยจึงเป็นเครื่องมือ ประเมินคุณภาพชีวิตเฉพาะเจาะจงอาการกลืนลําบากที่เป็นมาตรฐานสามารถนําไปประเมินคุณภาพ ชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็งศีรษะและลําคอของไทยได้ ซึ่งกลุ่มผู้ป่วยที่มีระดับความรุนแรงของภาวะ กลืนลําบากมากขึ้นจะมีคุณภาพชีวิตลดลงโดยเฉพาะคุณภาพชีวิตด้านอารมณ์และด้านความสามารถ ในการดําเนินชีวิตen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591131017 ติรยา พึ่งตระกูล.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.