Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชชุกาญจน์ ทองถาวร-
dc.contributor.authorรติกร เตชะสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:43:34Z-
dc.date.available2020-08-17T01:43:34Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69592-
dc.description.abstractThis independent study aimed to study 1.) the factors affecting to the work morale of early childhood teachers in private schools in Mueang Chiang Mai District and 2.) find the guidelines to enhance the work morale of following these factors. The populations are the early childhood teachers who work in private schools in Mueang Chiang Mai District. The questionnaires were sent to 466 teachers and there were 413 sent back which is 88.63% of all. The questionnaire of this study consists of 2 parts. Part 1 is the five-rating scale questionnaire. Part 2 is the open-ended question by descriptive writing. The data of part 1 was analyzed by means and standard deviation, illustrated in the descriptive table. The answers of Part 2 were categorized and presented in the form of descriptive analysis. The study found that 1. The factors affecting to the work morale of early childhood teachers in private schools in Mueang Chiang Mai District, found that both Hygiene Factors and Motivation Factors are at the highest level. Hygiene factors, when considered in each aspect, found that the highest mean values of the top 3 were Personal relationship, Working environment and Policies and Administration. As for Motivation factors, when considered in each ones, found that the highest mean values of the top 3 were Achievement, Recognitions and Challenging tasks, respectively 2. Guidelines for enhancing work morale of early childhood teachers in private schools in Mueang Chiang Mai District discovered by teachers’ answering the questionnaire have noted that there are 5 important issues: Finances and Stability, Personal relationship, Recognitions, Growth and Development and Supervising of school administrators. Those who involved with the early childhood teachers working can use the guidelines found in this study to implement or determine a policy, such as colleagues, school administrators, and executive administrators.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยและแนวทางในการส่งเสริมขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูปฐมวัยในโรงเรียนเอกชนในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors and Guidelines to Enhance the Work Morale of Early Childhood Teachers in Private Schools in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.) ปัจจัยที่ส่งผลต่อขวัญและกําลังใจ ในการปฏิบัติงานของครูปฐมวัยโรงเรียนเอกชนในเขตอําเภอเมืองเชียงใหม่ และ 2.) หาแนวทางใน การส่งเสริมขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานของครูปฐมวัยโรงเรียนเอกชนในเขตอําเภอเมือง เชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ครูปฐมวัยโรงเรียนเอกชนในเขตอําเภอเมืองเชียงใหม่ จํานวน 466 คน แบบสอบถามทั้งหมด ได้รับกลับคืนและมีการตอบอย่างสมบูรณ์ จํานวน 413 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 88.63 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามจํานวน 1 ฉบับ ประกอบด้วย 2 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน การตอบคําถามเป็นแบบมาตรา ส่วนประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตอนที่ 2 แนวทางในการส่งเสริมขวัญและกําลังใจของครู ปฐมวัย เป็นแบบสอบถามลักษณะคําถามปลายเปิด (Open-ended question) โดยให้เขียนเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความ แล้วนําเสนอผลในรูปแบบตารางประกอบคําบรรยาย ตอนที่ 2 แนวทางในการส่งเสริมขวัญและ กําลังใจของครูปฐมวัย วิเคราะห์โดยนําข้อมูลที่ได้มาสรุปประเด็นจากการตอบโดยจัดกลุ่มข้อคิดเห็น และนําเสนอในลักษณะการสรุปพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานของครูปฐมวัยโรงเรียนเอกชนในเขต อําเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่า ระดับความคิดเห็นของครูปฐมวัยเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อขวัญและ กําลังใจในการปฏิบัติงานทั้ง 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยค้ําจุน (Hygiene Factors) และปัจจัยแรงจูงใจ (Motivation Factors) มีค่าเฉลี่ยอยู่ระดับมากที่สุดทั้ง 2 ปัจจัย โดยเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้าน ปัจจัยค้ําจุนที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3 ลําดับแรกได้แก่ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านสภาพ แวดล้อมการทํางาน และด้านนโยบายและการบริหารตามลําดับ ส่วนปัจจัยแรงจูงใจพบว่าด้านที่มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3 ลําดับแรกได้แก่ ด้านความสําเร็จ ด้านการยกย่องในความสําเร็จ และด้านงานที่ ท้าทาย ตามลําดับ 2. แนวทางในการส่งเสริมขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานของครูปฐมวัยโรงเรียนเอกชน ในเขตอําเภอเมืองเชียงใหม่ ที่ค้นพบจากการตอบแบบสอบถามของครูได้ข้อสังเกตที่จะเป็นแนวทาง ในการส่งเสริมขวัญและกําลังใจ 5 ประเด็นสําคัญ ได้แก่ ด้านการเงิน ฐานะ และความมั่นคง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการยกย่องในความสําเร็จ ด้านการเจริญเติบโตและการพัฒนา และ ด้านการบังคับบัญชาของผู้บริหารการศึกษา ซึ่งบุคคลที่ใกล้ชิดและเกี่ยวข้องกับการทํางานของครู ปฐมวัยสามารถนําแนวทางที่พบในการศึกษาครั้งนี้มาปฏิบัติหรือสร้างเป็นนโยบาย ได้แก่ ผู้ร่วมงาน ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารศึกษาระดับสูงen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590232075 รติกร เตชะสุวรรณ.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.