Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69585
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ สันธทรัพย์-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ-
dc.contributor.authorพนิตนาถ มั่งมูลen_US
dc.date.accessioned2020-08-15T03:03:56Z-
dc.date.available2020-08-15T03:03:56Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69585-
dc.description.abstractThe study on the effects of fertilizer management under different watering systems on growth, yield, and quality of sweet corn was divided into 2 parts including (1) the study of the nutrient requirement for sweet corn production and (2) evaluation the fertilizer management effect under different irrigation systems on growth, yield, and quality of sweet corn. Nutrient requirements of sweet corn (Zea mays L. saccharata) were evaluated from December 2016 to March 2017. Three commercial sweet corn varieties, Hi-brix 53, WAN 54, and Sugar star plus were selected for this study. The study was carried out in Mae Hia Agricultural Research, Demonstrative and Training Center, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University. The crop was seeded by hand and thinned to ensure a uniform within-row spacing 25 x 75 cm. After planting, the sweet corn samples were collected according to the growth stage. The fresh and dry weight of stover and yield (fresh ear) were recorded. Then the concentration of nutrients in each plant part was analyzed for determining plant nutrient uptake by sweet corn. The results showed that the commercial sweet corn yielded 2.98 t/rai required plant nutrients (per rai) as follows: 27.08 kg N, 4.01 kg P, 25.76 kg K, 4.09 kg Ca, 2.37 kg Mg, 2.24 kg S, 269.65 g Fe, 127.60 g Mn, 85.51 g Zn and 17.53 g Cu. Besides, the nutrient removals of sweet corn (nutrients accumulated in ears) (per rai) were as follows:10.32 kg N, 2.42 kg P, 9.06 kg K, 0.55 kg Ca, 1.12 kg Mg, 1.33 kg S, 39.18 g Fe, 25.14 g Mn, 25.12 g Zn and 6.00 g Cu. The study on the fertilizer management effect under different irrigation methods on growth yield and yield quality of sweet corn was conducted in the research field at Faculty of Agriculture, Chiang Mai University and farmer’s field at Mae Sao sub-district, Mae Ai district during November 2017 to March 2018 and December 2018 to May 2019. The experimental design was a randomized complete block design (RCBD) with 4 replications and 5 treatments as follows: (1) soil fertilization at the rate of 25.9: 7.5: 7.5 N: P2O5: K2O kg/rai (based on nutrient requirement and soil analysis data, or site-specific fertilizer management, SSFM) with furrow irrigation, (2) soil fertilization (SSFM rate) with drip irrigation, (3) fertigation (SSFM rate) by drip irrigation, (4) soil fertilization at the rate of 30.5: 7.5: 7.5 N: P2O5: K2O kg/rai (common rate for sweet corn production) with furrow irrigation, and (5) control treatment (non-fertilization and irrigated by furrow). The results showed that the season and location affected sweet corn growth and yield significantly. Although the fertilization based on SSFM did not affect plant height, leaf greenness value, primary nutrient content in ear-leaf, fresh yield, and yield quality significantly when compared to farmer practice treatment. However, the fertigation based on SSFM and applied at the same time of drip irrigation trended to promote the growth of sweet corn. Besides a good yield and quality of sweet corn and maximum fertilizer use efficiency were observed. In the 2017/2018 growing season, sweet corn, Hi-brix 59 variety was tested. At the research field (sandy loam soil), sweet corn had 4.03 t/rai of the average fresh yield, average fresh ear weight 438.92 g/ear, ear length 37.54 cm, ear diameter 64.92 mm, and the total soluble solids 15.39 ° Brix. With the farmer’s field (loam soil), sweet corn had 3.12 t/rai of the average yield, average fresh ear weight 352.07 g/ear, ear length was 34.60 cm, ear diameter 61.55 mm, and total soluble solids 15.24 ° Brix. Moreover, the drip irrigation system saved 50% water usage in the sandy loam soil and 25% in the loam soil compared to the furrow system. The results of the study indicated that the fertilizer rate based on the nutrient requirements of sweet corn and soil analysis data and applied with drip irrigation is an appropriate fertilizer and water management for sweet corn production.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการจัดการปุ๋ยภายใต้ระบบการให้น้ำที่แตกต่างกันต่อการเติบโต ผลผลิต และคุณภาพของข้าวโพดหวานen_US
dc.title.alternativeEffects of Fertilizer Management Under Different Watering Systems on Growth, Yield and Quality of Sweet Cornen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาผลของการจัดการปุ๋ยภายใต้ระบบการให้น้ําที่แตกต่างกันต่อการเติบโต ผลผลิต และ คุณภาพของข้าวโพดหวาน ได้แบ่งการดําเนินงานออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ (1) การศึกษาความต้องการ ธาตุอาหารของข้าวโพดหวานตลอดฤดูการผลิต และ (2) การศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยภายใต้ระบบ การให้น้ําที่แตกต่างกันต่อผลผลิต และคุณภาพของข้าวโพดหวาน การศึกษาความต้องการธาตุอาหารของข้าวโพดหวาน (Zea mays L. saccharate) ได้ดําเนินการ ศึกษาในระหว่างเดือน ธันวาคม 2559 ถึง มีนาคม 2560 โดยทําการปลูกข้าวโพดหวาน 3 พันธุ์ ได้แก่ Hi-brix 53, Wan 54 และ Sugar star plus ในแปลงทดลอง ณ ศูนย์วิจัย สาธิต และฝึกอบรมการเกษตร แม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีระยะปลูก 25 x 75 เซนติเมตร ทําการสุ่มเก็บ ตัวอย่างข้าวโพดหวานตามระยะการเจริญเติบโต บันทึกน้ําหนักสด น้ําหนักแห้งของต้นส่วนเหนือดิน และปริมาณผลผลิต (ฝึกสด) และนําไปวิเคราะห์ความเข้มข้นของธาตุอาหาร ในแต่ละส่วนของพืช เพื่อนํามาประเมินการคูคใช้ธาตุอาหาร ผลการศึกษาพบว่า ข้าวโพดหวานที่ให้ผลผลิตเฉลี่ย 2.98 ตัน/ไร่ ต้องการธาตุอาหารทั้งหมด เฉลี่ยต่อไร่ ทั้งนี้ ไนโตรเจน 27.08 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส 4.01 กิโลกรัม โพแทสเซียม 25.76 กิโลกรัม แคลเซียม 4.09 กิโลกรัม แมกนีเซียม 2.37 กิโลกรัม กํามะถัน 2.24 กิโลกรัม เหล็ก 269.65 กรัม แมงกานีส 127.60 กรัม สังกะสี 85.51 กรัม และทองแดง 17.53 กรัม โดยเป็นปริมาณธาตุอาหารที่ติดไปกับผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (ธาตุอาหารที่สะสมในฝัก) ดังนี้ ไนโตรเจน 10.32 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส 2.42 กิโลกรัม โพแทสเซียม 9.06 กิโลกรัมแคลเซียม 0.55 กิโลกรัม แมกนีเซียม 1.12 กิโลกรัม กํามะถัน 1.33 กิโลกรัม เหล็ก 39.18 กรัม แมงกานีส 25.14 กรัม สังกะสี 25.12 กรัม และทองแดง 6.00 กรัม การศึกษาผลของการให้ปุ๋ยภายใต้ระบบการให้น้ําที่แตกต่างกันต่อการเติบโต ผลผลิต และ คุณภาพของข้าวโพดหวาน ได้ดําเนินการทศลองในในระดับสถานีวิจัย ของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และในระดับไร่นาของเกษศรกร ตําบลแม่สาว อําเภอแม่อาย ในระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2559 ถึง มีนาคม 2560 และ ธันวาคม 2560 ถึง เมษายน 2561 โดยวางแผนการทดลองแบบ สุ่มสมบูรณ์ในบล็อก (randomized camplete black design, RCBD) จํานวน 4 5 กรรมวิธีทดลอง ได้แก่ 1) การใส่ปุ๋ย (N:P0, K,0) ทางดิน อัศรา 25.97.57.5 กิโลกรัม/ไร่ (อัตราที่ประเมินจาก ความต้องการธาตุอาหารของข้าวโพดหวานและต่าวิเคราะห์ดิน (ite specific fistilizer ruragement, SSFM) และให้น้ําแบบปล่อยตามร่องปลูก 2) การใส่ปุ๋ยทางดินในอัตรา SSEM และให้น้ําระบบ น้ําหยด (3) การใส่ปุ๋ยอัตรา 5SFM ไปพร้อมกับระบบน้ําหยศ 4) ใส่ปุ๋ยทางดินอัตรา 30.5-7.5:7.5 กิโลกรัม/ไร่ (อัตราที่เกษตรกรนิยมปฏิบัติ) และให้น้ําแบบปล่อยตามร่องปลูก (5) กรรมวิธีควบคุม (ไม่ใส่ปุ๋ยและให้น้ําแบบปล่อยตามร่องปลูก) ผลการศึกษาพบว่า ฤดูปลูก และสถานที่ปลูกมีผลต่อ การเจริญเติบโต และผลผลิตของข้าวโพดหวานอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ถึงแม้ว่าการใส่ปุ๋ยอัตรา SSFM ไม่ทําให้ความสูง ค่าดัชนีความเขียวของใบ ความเข้มข้นธาตุอาหารหลักในใบ ผลผลิตและ คุณภาพผลผลิต แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีที่เกษตรกร นิยมปฏิบัติ อย่างไรก็ตามการใช้ปุ๋ยอัตรา SSFM โดยการแบ่งใส่ปุ๋ยไปพร้อมกับระบบน้ําหยดทุกครั้ง ที่มีการให้น้ํา จะส่งเสริมให้ข้าวโพดหวานมีการเจริญเติบโตที่ดี ได้ผลผลิตและคุณภาพผลผลิตที่ดี มีประสิทธิภาพการทูตใช้ธาตุอาหารจากปุ๋ยดีที่สุด โดยในฤดูการผลิต 2560/2561 ในแปลงทดลอง ระดับสถานีวิจัย (ดินร่วนปนทราย) ข้าวโพดหวานพันธุ์หวาน 59 ให้ผลผลิต 4.03 ต้น/ไร่ น้ําหนัก ฝึกสตเฉลี่ย 438.92 กรัม/ฝัก มีความยาวฝึกเฉลี่ย 37.54 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางฝึกเฉลี่ย 64.92 มิลลิเมตร และปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ําได้ 15.39 "Brix ในแปลงทดสอบระดับไร่นา ของเกษตรกร (ดินร่วน) ให้ผลผลิตเฉลี่ย 3.12 ต้นไร่ น้ําหนักฝึกสตเฉลี่ย 352.07 กรัมฟัก มีความยาวฝัก เฉลี่ย 34.60 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางฝึกเฉลี่ย 61.55 มิลลิเมตร และปริมาณของแข็งทั้งหมด ที่ละลายน้ําได้ 15.24 "Brix และนอกจากนั้น การให้น้ําโดยระบบน้ําหยดสามารถประหยัดน้ําได้มากถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ในดินร่วนปนทราย และ 15 เปอร์เซ็นต์ ในดินร่วน เมื่อเทียบกับการให้น้ําแบบ ปล่อยตามร่องปลูก จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า อัตราการใส่ปุ๋ยที่ประเมินจากความต้องการ ธาตุอาหารของข้าวโพดหวานและต่าวิเคราะห์ดิน และการให้ปุ๋ยไปพร้อมกับการให้น้ําระบบน้ําหยด เป็นแนวทางในการจัดการปุ๋ยและน้ําที่เหมาะสมสําหรับการปลูกข้าวโพดหวานen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590831042 พนิตนาถ มั่งมูล.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.