Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69580
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Mukdawan Sakboon-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Prasit Leepreecha-
dc.contributor.authorSui Meng paren_US
dc.date.accessioned2020-08-15T03:03:29Z-
dc.date.available2020-08-15T03:03:29Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69580-
dc.description.abstractThe matriculation passing rate of Chin State has always been the lowest amongst other states and regions in Myanmar. Hakha, the capital of Chin State saw the emergence of boarding class as alternative schooling alongside government high schools from the early 1990s. The rise of boarding class as shadow education provision has been constantly associated with failures in the government education system. Since its emergence in Hakha, Chin State, Myanmar, there is a rapid growth in the number of boarding classes, reaching more than 15 to date. They emerged with advertised objectives of assisting students to pass the university entrance examination called matriculation examination, which will consecutively upgrade Chin State’ matriculation result. Parents and students alike expect boarding class guaranteeing successful academic results. Considered as the only solution, boarding classes win enormous popularity with more than 90% students joining them. Hence, the objective of this qualitative, ethnographic study is to investigate boarding class in its relationship with students’ academic results. Concepts of “schooling and commodified education” are employed to analyze schooling prevalent in the research area. The main questions of this study are: 1) What are the implications of shadow education system in the form of boarding class on parents, students, teachers and boarding class administrators?; 2) To what extent do these Boarding Classes fulfill (if any) students’ learning outcome and who are the most benefitted out of them?; 3) How do Boarding Classes become institutions which manifest commodified education? This study found out that boarding class in Hakha, while not alleviating the passing rate of students in Chin State over twenty years of its emergence – the overall passing rate in the periods of four-year times at the selected boarding classes continued to be lower than 50%, it also constructs implications on teachings-learning at government schools and often results in social stratifications – assisting few high performance students while paying less attention to weak students, while also creates financial burden on parents of poor students who became in debt sending their children to the boarding class. It creates more burdens to students who have to study in both boarding class and government schools – study hard, less sleep, no recreation. Positive outlooks, however, come from boarding class operators and students passing matriculation examination. To persuade parents and students, commodification of education is strengthened with boarding classes’ advertising techniques such as big billboards at main intersections in big cities and advertisement in the local media in Chin State to increase people’ hope in matriculation achievement. As a consequence, academic performance is treated as a commodity, result in education being commodified. In the meanwhile, it is these boarding classes that receive economic benefits from the few propitious students as well as from unpromising students alike.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleCommodification of Education in Myanmar’ Chin State Under the Shadow Education Systemen_US
dc.title.alternativeกระบวนการทำให้การศึกษากลายเป็นสินค้าภายใต้ระบบการศึกษาเงาในรัฐชิน ประเทศเมียนมาen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractรัฐชิน ประเทศเมียนมา มีอัตราการสอบผ่านเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา หรือที่เรียกว่า Matriculation Examination ต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับรัฐอื่นๆในประเทศ ตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมาในเมืองฮักกา (Hakha) เมืองหลวงของรัฐชิน เริ่มมีการขยายตัวของระบบการศึกษาเงาในรูปแบบของห้องเรียนประจำกวดวิชา (boarding class) ควบคู่ไปกับโรงเรียนรัฐ เพื่อเป็นทางเลือกในการศึกษา การเกิดขึ้นของห้องเรียนประจากวดวิชานี้ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับปัญหาความล้มเหลวในระบบการศึกษาในโรงเรียนรัฐโดยรวม เฉพาะในเมืองหลวงของรัฐชิน มีจำนวนห้องเรียนประจำเพื่อกวดวิชาเพิ่มขึ้นอย่างมาก นับกว่า 15 แห่งในปัจจุบัน ห้องเรียนเหล่านี้มีการโฆษณาวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งว่า เพื่อช่วยเหลือให้นักเรียนสามารถสอบเอ็นทรานซ์เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยได้ ซึ่งจะทำให้อัตราการสอบผ่านดังกล่าวในรัฐชินสูงขึ้น ทำให้ทั้งผู้ปกครองและนักเรียนคาดหวังว่าห้องเรียนประจำเพื่อกวดวิชานี้ จะเป็นหนทางเดียวที่ช่วยให้นักเรียนประสบผลสำเร็จในการสอบผ่านเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยได้ ทำให้ห้องเรียนประจำกวดวิชาได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก นักเรียนส่วนใหญ่กว่า 90% ต่างก็ลงทะเบียนเพื่อเข้าเรียนในห้องเรียนประจำกวดวิชา งานวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้แนวทางชาติพันธุ์วรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาห้องเรียนประจำกวดวิชา และผลสัมฤทธิ์ในการสอบผ่านเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา โดยมีแนวคิดหลักในการศึกษาวิเคราะห์คือ ระบบการศึกษาในโรงเรียน (schooling) และการทำให้การศึกษากลายเป็นสินค้า (commodified education) โดยมีคำถามหลักของการวิจัยคือ 1) ระบบการศึกษาเงาในรูปแบบของห้องเรียนประจำกวดวิชา ส่งผลกระทบต่อผู้ปกครอง นักเรียน ครูผู้สอน และผู้บริหารห้องเรียนฯอย่างไรบ้าง 2) ห้องเรียนประจำกวดวิชา ได้มีส่วนช่วยผลการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างไร หรือไม่ และใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์มากที่สุด 3) ห้องเรียนประจำกวดวิชา เป็นสถาบันที่ทำให้การศึกษากลายเป็นสินค้าได้อย่างไร ผลการศึกษาพบว่า ห้องเรียนประจำกวดวิชาในเมืองฮักกา ไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาอัตราการสอบผ่านเข้าศึกษาต่อที่อยู่ในระดับต่ำที่สุดของประเทศของนักเรียนในรัฐชินแต่อย่างใด จากข้อมูลในช่วง 4 ปีที่ผ่านมาของห้องเรียนประจำกวดวิชาที่งานวิจัยนี้เลือกทำการศึกษา พบว่า ยังคงต่ำกว่า 50 % นอกจากนี้ ห้องเรียนประจำกวดวิชา ยังสร้างผลกระทบต่อการเรียนการสอนในโรงเรียนรัฐ และสร้างการแบ่งแยกทางสังคมอีกด้วย โดยการมุ่งส่งเสริมนักเรียนจำนวนน้อยที่มีผลการเรียนดีถึงระดับที่สามารถสอบผ่านเข้าศึกษาต่อได้อยู่แล้ว ในขณะที่ละเลยนักเรียนที่เรียนอ่อน นอกจากนี้ยังทำให้พ่อแม่ของนักเรียนที่มีฐานะยากจน ต้องไปกู้หนี้ยืมสินมาเพื่อส่งลูกเข้าเรียนในห้องเรียนประจำกวดวิชา ในส่วนของนักเรียนนั้นพบว่า มีภาระเพิ่มขึ้นจากการที่ต้องเรียนทั้งในโรงเรียนรัฐและในห้องเรียนประจำกวดวิชา พวกเขาเรียนหนัก โดยแทบไม่มีเวลาพักผ่อนนอนหลับ หรือทำกิจกรรมสันทนาการใดๆ อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารห้องเรียนประจำกวดวิชาและนักเรียนที่สอบผ่านเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยต่างให้ความเห็นเชิงบวกต่อห้องเรียนประจากวดวิชา ในส่วนของการทำให้การศึกษากลายเป็นสินค้านั้น พบว่าผู้ประกอบกิจการห้องเรียนประจำกวดวิชา ได้ดำเนินการโฆษณาโดยผ่านช่องทางต่างๆ ทั้งป้ายโฆษณาใหญ่ๆตามสี่แยกเส้นทางการสัญจรที่สำคัญ รวมทั้งการลงโฆษณาในสื่อมวลชนทั้งวิทยุ หนังสือพิมพ์ และสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นในเมืองฮักกา เพื่อเป็นการชักจูงใจผู้ปกครองและนักเรียน เป็นการสร้างความหวังและความเชื่อมั่นว่า ห้องเรียนประจำกวดวิชาจะช่วยให้นักเรียนประสบความสำเร็จในการสอบเข้าศึกษาต่อ ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษากลายเป็นสินค้า และการศึกษาเองกลายเป็นสินค้าที่ถูกโฆษณาเพื่อการขาย ดังนั้นจะเห็นว่าผู้ที่ได้ประโยชน์โดยตรงคือผู้ประกอบธุรกิจการค้าการศึกษาในรูปแบบห้องเรียนประจำกวดวิชานั่นเอง เพราะได้รับประโยชน์จากทั้งนักเรียนที่มีผลการเรียนดี และนักเรียนที่มีผลการเรียนอ่อนen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610435812 Sui Meng Par.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.