Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา สุคนธสรรพ์-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.สุภารัตน์ วังศรีคูณ-
dc.contributor.authorวิสุณี ฝั้นคำปวงen_US
dc.date.accessioned2020-08-15T03:02:14Z-
dc.date.available2020-08-15T03:02:14Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69567-
dc.description.abstractPain among injured persons is inevitable. Those faced with pain need appropriate pain management. Emergency nurses are health personnel who play a significant role in pain management. The purpose of this study were to examine the knowledge and attitudes regarding pain and pain management in injured persons among emergency nurses as well as to ascertain the relationships between these two variables. The results of the study revealed that: The sample consisted of 113 registered nurses who worked at emergency departments in Lampang province. The duration of study was from December 2019 to January 2020. Data collection instruments were the demographic record form; the Knowledge and Attitudes Survey Regarding Pain Questionnaire (KASRP) developed by Ferrell and McCaffery (2014) and translated into Thai by the researchers and advisors using back-translation techniques; and the Pain Management Questionnaire developed by the researcher based on a literature review. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman Rank Correlation Coefficient. The results of this study were as follows: 1. Sample had knowledge and attitude about pain at a low level (X̅ = 21.19 and S.D. 3.06); 2. Sample had pain management in injured person at a high level (X̅ = 124.74 and S.D. 15.88); and 3. Sample’s knowledge and attitude regarding pain didn’t have a statistically positive relationship with the pain management in injured persons (p >.05). The results from this study can be used to guide plan development for improving pain management among emergency nurses in emergency departments.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับความปวด และการจัดการความปวดใน ผู้บาดเจ็บของพยาบาลฉุกเฉินen_US
dc.title.alternativeKnowledge and Attitudes Regarding Pain and Pain Management in Injured Persons Among Emergency Nursesen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความปวดในผู้บาดเจ็บเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ที่ต้องเผชิญกับความปวดต้องการการจัดการความปวดที่เหมาะสม พยาบาลฉุกเฉินเป็นบุคลากรสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญในการจัดการความปวด การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับความปวด และการจัดการความปวดในผู้บาดเจ็บของพยาบาลฉุกเฉิน รวมถึงศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งสองตัว กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในแผนกอุบัติเหตุและเจ็บป่วยฉุกเฉิน จังหวัดลำปาง จำนวน 113 คน ระยะเวลาศึกษาเริ่มจากเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสำรวจความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับความปวด (Knowledge and Attitudes Survey Regarding Pain [KASRP]) พัฒนาโดย เฟอร์เรล และ แมคแคฟเฟอรี่ (2014) แปลโดยผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษาใช้เทคนิคการแปลย้อนกลับ และแบบสอบถามการจัดการความปวดของพยาบาลสร้างโดยผู้วิจัยจากการทบทวนวรรณกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัย ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างมีความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับความปวดในระดับต่า (X̅ = 21.19 และ S.D. 3.06) 2. กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการความปวดในผู้บาดเจ็บในระดับมาก (X̅ = 124.74 และ S.D. 15.88) 3. ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับความปวดและการจัดการความปวดในผู้บาดเจ็บมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p >.05) ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาคุณภาพการจัดการความปวดของพยาบาลฉุกเฉินในแผนกอุบัติเหตุและเจ็บป่วยฉุกเฉินen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
581231113 วิสุณี ฝั้นคำปวง.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.