Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69559
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อ.ดร. สุรีรัตน์ ลัคนาวิเชียร | - |
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร. ถาวร อ่อนประไพ | - |
dc.contributor.author | กฤช เขตอนันต์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T03:03:29Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T03:03:29Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69559 | - |
dc.description.abstract | The objectives of the study on water resource and land use of Mae Phrao watershed at Ngiew Thao village, Mae Saab subdistrict, Samoeng district, Chiang Mai province were to quantify watershed forest ecology, which was the Hill evergreen forest, in relation to water quality, water quantity and agricultural land use. The methodology included 1) preliminary surveys for collecting data of the village and watershed, 2) land use inventory by ground survey and semi-structured interview, then watershed land use mapping by satellite imageries using ArcMap 10.3.1 program, 3) assessment of watershed forest ecology by Participatory Ecological Investigation Methodology (PEIM) with key informants using stratified random sampling and simple random samlping to set up 2 sample plots (quadrat format) which were selected according to the watershed forest size of 2.3287 km2. Each quadrat was 40 ×40 m2 for collecting ecological variables and analyzing forest abundance by applying formulae of Importance Value Index (IVI) and Species diversity index, with particular to Shannon-Wiener Index (SWI), 4) assessment of physical and biological water qualities by aquatic microinvertebrate surveys, and 5) water quantity assessment by area – velocity method. The results showed that Mae Phrao watershed area was 5,014.50 rai or 8.0232 km2, including the forest land of 4,455.56 rai accounting for 88.85% of the total land, paddy areas of 227.33 rai, crop and orchard areas of 137.62 rai as 4.53% and 2.75% of the total land respectively, and community ซ and homestead areas of 193.99 rai as 3.87% of total land. Mae Phrao watershed forest was 1,455.44 rai accounting for 29.02% of the total land. The SWI was 5.18 considering as relatively high, based on the standard values of 1-7. There were 376 trees of 67 species in 36 families. The species with the highest relative Important Value Index (relative IVI) was Schleichera oleosa (5.53%) followed by Shorea siamensis, Colona flagocarpa, Castanopsis acuminatissima, Lithocarpus truncatus and Aporosa villosa accounting for 5.15%, 4.98%, 4.96%, 4.82% and 3.74% respectively. In agricultural land use, the important crops were paddy rice, garlic, vegetable soybean and peanut. The villagers divided their paddy areas into 22 fields using local names, which had intensive farming along the stream banks. The water quality of Mae Phrao stream was good, which average biological index was 5.99, while the watershed forest had the best water quality (biological index: 7.40). The total streamflow quantity of Mae Phrao watershed was 2,634,369.30 m3/year. The farmers of Mae Phrao watershed utilized water for agriculture by direct pumping and “Muang – Fai system”, plus additional water transporting pipeline from Mae Khae reservoir. The farmers managed their water resource by participatory approach. The estimation of water requirement for agriculture showed that water usage was 571,052.96 m3/yr. The watershed forest produced abundant water, which was more than the farming needs and then fed into Mae Khae stream flowing down to Mae Khan stream prior to the Ping river. In conclusion, Mae Phrao watershed forest was abundant and capable to produce good water qualities, both physical and biological characteristics. Water supply was available all-year-round, yielding the perennial stream type. The villagers were aware of the importance of forest resource conservation, particularly the watershed forest. They also understood the benefits of water quality and streamflow which related to the good-condition watershed forest. The entire community thus participated in water resource management efficiently, by integrating updated irrigation technology with their local knowledge, regarding the Muang – Fai system. The farmers planned their cropping system calendar and selected crop species with consideration of water discharge. Natural resource management by the villagers of Mae Phrao watershed initiated the balance between land use and natural resource conservation, enabling abundant watershed and sustainable livelihoods of the villagers in the future. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ทรัพยากรน้ำและการใช้ประโยชน์ที่ดินในลุ่มน้ำแม่พร้าวบ้านงิ้วเฒ่า ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Water Resource and Land Use of Mae Phrao Watershed at Ngiew Thao Village, Mae Saab Subdistrict, Samoeng District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาทรัพยากรน้ำและการใช้ประโยชน์ที่ดินในลุ่มน้ำแม่พร้าว บ้านงิ้วเฒ่า ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินนิเวศวิทยาเชิงปริมาณของ ป่าต้นน้ำ ซึ่งเป็นป่าดิบเขาที่สัมพันธ์กับคุณภาพน้ำ และปริมาณน้ำท่า และการใช้ประโยชน์ที่ดินด้าน การเกษตรภายในลุ่มน้ำ วิธีการศึกษาประกอบด้วย 1) การสำรวจพื้นที่เบื้องต้น เพื่อรวบรวมข้อมูลของ หมู่บ้านและลุ่มน้ำ 2) การสำรวจการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยวิธีการเดินสำรวจและการสัมภาษณ์แบบ กึ่งโครงสร้าง แล้วจัดทำ แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในลุ่มน้ำ จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมโดย ใช้โปรแกรม ArcMap 10.3.1 3) การสำรวจนิเวศวิทยาป่าต้นน้ำ โดยวิธีการสำรวจนิเวศวิทยาอย่างมี ส่วนร่วม (Participatory Ecological Investigation Methodology: PEIM) กับชาวบ้านผู้ให้ข้อมูลหลัก ในแปลงตัวอย่างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (quadrat) ขนาด 40 ม. × 40 ม. จำนวน 2 แปลงตามหลักการกำหนด จำนวนแปลงตัวอย่าง โดยคำนวณจากขนาดพื้นที่ 2.3287 ตร.กม. ซึ่งวางแปลงตัวอย่างด้วยวิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิและสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เพื่อเก็บข้อมูลตัวแปรทางนิเวศวิทยาแล้ววิเคราะห์ ความอุดมสมบูรณ์ของป่าต้นน้ำ ด้วยการคำนวณหาค่าดัชนีความสำคัญทางนิเวศวิทยาและค่าดัชนี ความหลากหลายของชนิดพันธ์ไม้ โดยใช้สูตรของ Shannon-Wiener Index (SWI) 4) โดยการประเมิน คุณภาพน้ำทางกายภาพและชีวภาพ ใช้วิธีการสำรวจสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กในลำธาร เพื่อหาค่าดัชนีบ่งชี้ทางชีวภาพ และ 5) การประเมินปริมาณน้ำท่าด้วยวิธีการวัดหน้าตัด - ความเร็ว (area–velocity method)ผลการศึกษาพบว่าลุ่มน้ำ แม่พร้าวมีพื้นที่ทั้งหมด 5,014.50 ไร่ หรือ 8.0232 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่ป่าไม้ 4,455.56 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 88.85 ของพื้นที่ลุ่มน้ำ พื้นที่นา 227.33 ไร่ พื้นที่ ไร่และสวน 137.62 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.53 และ 2.75 ของพื้นที่ทั้งหมดตามลำดับ และพื้นที่ชุมชนกับ พื้นที่อื่นๆ 193.99 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.87 ของพื้นที่ทั้งหมด ป่าต้นน้ำของลุ่มน้ำแม่พร้าวมีพื้นที่ 1,455.44 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 29.02 ของพื้นที่ทั้งหมด มีค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้เท่ากับ 5.18 ซึ่งถือว่าค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน (1-7) ชนิดพันธุ์ไม้ทั้งหมดจำนวน 376 ต้น 67 ชนิด ใน 36 วงศ์ ชนิดพันธุ์ไม้ที่มีค่าดัชนีความสำคัญทางนิเวศวิทยาสัมพัทธ์มากที่สุดคือ ตะคร้อ (ร้อยละ 5.53) รองลงมาได้แก่ รัง ยาบใบยาว ก่อเดือย ก่อดา และเหมือดหอม โดยมีค่าดัชนีฯ ร้อยละ 5.15 4.98 4.96 4.82 และ 3.74 ตามลำดับ ส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตร ชนิดพืชที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว กระเทียม ถั่วเหลืองฝักสด และถั่วลิสง ชาวบ้านแบ่งพื้นที่นาออกเป็นทั้งหมด 22 ทุ่ง ตาม ชื่อเรียกท้องถิ่นดั้งเดิม โดยมีการทา การเกษตรอย่างเข้มข้นบริเวณที่ราบริมสองฝั่งลา น้า ด้านคุณภาพ น้ำพบว่าห้วยแม่พร้าวมีน้ำสะอาด เพราะค่าดัชนีบ่งชี้คุณภาพน้ำทางชีวภาพเฉลี่ยเท่ากับ 5.99 โดย คุณภาพน้ำดีที่สุดอยู่บริเวณ ป่าต้นน้ำ (ค่าดัชนีฯ คือ 7.40) ลุ่มน้ำแม่พร้าวให้ปริมาณน้ำท่าทั้งหมด เท่ากับ 2,634,369.30 ลบ.ม./ปี เกษตรกรในลุ่มน้ำ แม่พร้าวพึ่งพาน้ำ เพื่อการเกษตรจากห้วยแม่พร้าว ด้วยการสูบน้ำ จากลาน้ำ โดยตรงกับ “ระบบเหมืองฝาย” และเพิ่มเติมด้วยระบบท่อส่งน้ำ จากอ่างเก็บน้ำ แม่แขะ เกษตรกรในลุ่มน้ำ มีการจัดการทรัพยากรน้ำ จากประมาณการค่าใช้น้ำ ของชนิดพืชหลักใน พื้นที่นา พบว่ามีการใช้น้ำ 571,052.96 ลบ.ม./ปี แสดงว่าป่าต้นน้ำของลุ่มน้ำแม่พร้าวรวมกับลา น้ำ สาขาย่อยแล้ว ให้ปริมาณน้ำ ท่าเพียงพอต่อความต้องการน้ำ ด้านเกษตรกรรม ทั้งยังเหลือพอที่จะเป็น น้ำ ต้นทุนเติมลงสู่ห้วยแม่แขะที่จะไหลลงสู่ลา น้ำ แม่ขานและแม่น้ำ ปิงต่อไป ดังนั้น ป่าต้นน้ำ ของลุ่มน้ำ แม่พร้าวมีความอุดมสมบูรณ์และสามารถให้น้ำ ที่มีคุณภาพดีทั้งทาง กายภาพและชีวภาพ ปริมาณน้ำ เพียงพอและไหลตลอดทั้งปี ชาวบ้านในพื้นที่ตระหนักถึงความสำคัญ ของการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะป่าต้นน้า ทั้งยังมีความเข้าใจถึงประโยชน์ของคุณภาพน้ำ และปริมาณน้ำท่าที่มีความสัมพันธ์กับความอุดมสมบูรณ์ของป่าต้นน้ำ ชุมชนจึงร่วมกันจัดการ ทรัพยากรน้ำ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยบูรณาการเทคโนโลยีด้านชลประทานในปัจจุบันกับภูมิปัญญา ท้องถิ่นเรื่องระบบเหมืองฝาย เกษตรกรมีการวางแผนปฏิทินการเพาะปลูกและเลือกชนิดพืช โดย พิจารณาจากปริมาณน้ำ ท่าที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยชาวบ้านใน ลุ่มน้ำ แม่พร้าวก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการใช้ประโยชน์ที่ดินกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ลุ่มน้ำ แม่พร้าวจึงมีความอุดมสมบูรณ์และส่งผลให้ชาวบ้านสามารถดา รงชีวิตอย่างยั่งยืนต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580831047 กฤช เขอนันต์.pdf | 4.71 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.