Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.วัชรพงษ์ ธัชยพงษ์-
dc.contributor.authorปัญญากร ดีเรือนen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T02:01:40Z-
dc.date.available2020-08-12T02:01:40Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69532-
dc.description.abstractThe deposition of dried leaves on forest floor in dry season of Dipterocarp forest causes a forest fire frequently. Therefore, this research aims to find out a heat content and the burning characteristic of Dipterocarp forest fuels which are Teng leaves, Rang leaves, Pluang leaves and Hiang leaves. The data from this study will be used as an additional information for fuel management plan and reducing the risk of fire intensity. This research was conducted by using 2 methods to find heating value and burning characteristics following ASTM D3180 and ASTM E2058 standards. There were 4 types of fuels including Teng leaves, Rang leaves, Pluang leaves and Hiang leaves. The fuels were divided into 3 groups in order of their quantity from 3 leaves, 4 leaves and 5 leaves. The results show that the higher heating values were 5,356 kcal/kg, 4,874 kcal/kg, 4,553 kcal/kg and 4,557 kcal/kg of Teng leaves, Rang leaves, Hiang leaves and Pluang leaves, respectively. Ignition times were 45.8 sec, 50.6 sec, 55.5 sec and 84.5 sec of Hiang leaves, Rang leaves, Teng leaves and Pluang leaves, respectively. The maximum flame heights were 18.8 cm, 18.4 cm, 17.8 cm and 6.9 cm of Rang leaves, Teng leaves, Pluang leaves and Hiang leaves, respectively. Flame temperatures were 525.8 °C, 509.1 °C, 498.3 °C and 320.8 °C of Rang leaves, Teng leaves, Pluang leaves and Hiang leaves, respectively. Mass loss rates were 0.006442 g/sec, 0.006385 g/sec, 0.004485 g/sec and 0.004509 g/sec of Rang leaves, Teng leaves, Pluang leaves and Hiang leaves, respectively. en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ค่าความร้อนของใบไม้เพื่อทำนายความรุนแรงของไฟป่าในป่าเต็งรังen_US
dc.title.alternativeAnalysis of Heating Value of Leaves to Predict Forest Fire Intensity in Dry Dipterocarp Foresten_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการสะสมของใบไม้แห้งที่ร่วงหล่นในฤดูแล้งบริเวณพื้นที่ป่าเต็งรัง ทำให้เกิดไฟป่าขึ้นเป็นประจำ การศึกษานี้จึงมีเป้าหมายในการหาค่าพลังงานความร้อนของเชื้อเพลิง และลักษณะการเผาไหม้ของ ใบเต็ง ใบรัง ใบพลวง และใบเหียง ซึ่งเป็นไม้เด่นในป่าเต็งรัง เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนจัดการเชื้อเพลิง เพื่อความเสี่ยงในการเกิดไฟป่าที่มีความรุนแรงสูง การศึกษาครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงใบไม้มาศึกษา 2 รูปแบบ คือ หาค่าความร้อน และทดลองเพื่อหาลักษณะการเผาไหม้ต่าง ๆ ตามมาตรฐานการทดสอบ ASTM D3180 และ ASTM E2058โดยเชื้อเพลิงในการทดสอบคือ ใบเต็ง ใบรัง ใบพลวง และใบเหียง โดยใช้ปริมาณเชื้อเพลิงทดสอบที่ 3 4 และ 5 ใบ ผลการศึกษา พบว่า เชื้อเพลิงมีค่าความร้อน เท่ากับ 5,356 4,874, 4,553 และ 4,557 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัม สำหรับ ใบเต็ง ใบรัง ใบเหียง และใบพลวง ตามลำดับ มีระยะเวลาที่ใช้ในการจุดติดไฟ เท่ากับ 45.8 50.6 55.5 และ 84.5 วินาที สำหรับ ใบเหียง ใบรัง ใบเต็ง และใบพลวง ตามลำดับ มีความสูงของเปลวไฟสูงสุด เท่ากับ 18.8 18.4 17.8 และ 6.9 เซนติเมตร สำหรับ ใบรัง ใบเต็ง ใบพลวง และใบเหียง ตามลำดับ มีอุณหภูมิเปลวไฟ เท่ากับ 525.8 509.1 498.3 และ 320.8 องศาเซลเซียส สำหรับ ใบรัง ใบเต็ง ใบพลวง และใบเหียง ตามลำดับ และมีอัตราการสูญเสียมวลระหว่างการเผาไหม้ เท่ากับ 0.006442 0.006385 0.004485 และ 0.004509 กรัมต่อวินาที สำหรับ ใบรัง ใบเต็ง ใบพลวง และใบเหียง ตามลำดับen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590631125 ปัญญากร ดีเรือน.pdf5.88 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.