Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProfessor Dr. Wipada Kunaviktikul-
dc.contributor.advisorAssistant Professor Dr. Thitinut Akkadechanunt-
dc.contributor.advisorAssistant Professor Dr. Apiradee Nantsupawat-
dc.contributor.authorXu Jiaminen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T02:00:27Z-
dc.date.available2020-08-12T02:00:27Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69522-
dc.description.abstractNurses’ workplace social capital is the relational network configured by respectful interactions among nursing professionals and between the other healthcare professionals. The objectives of this descriptive predictive study were to examine the level of workplace social capital, transformational leadership, emotional intelligence and organizational justice, as well as to explore factors influencing workplace social capital as perceived by nurses. The sample consisted of 384 Chinese nurses working in three tertiary hospitals in Lishui, Zhejiang province, P.R. China. The research instruments included the Personal Data Form, the Short Measure of Workplace Social Capital (Kouvonen et al., 2006), the Leadership Practice Inventory (Posner & Kouzes, 1988), the Emotional Intelligence Scale (Wong & Law, 2002) and the Organizational Justice Measure (Colquitt, 2001). The Cronbach’s α coefficient of the Eight-Item Short Measure of Workplace Social Capital, the Leadership Practice Inventory, the Emotional Intelligence Scale, and the Organizational Justice Measure were .89, .98, .93 and .95, respectively. Stepwise multiple regression was used to examine the predictors of workplace social capital. The results revealed that 1. The overall levels of nurses’ workplace social capital and all social capital dimensions were high. Likewise, the overall levels of transformational leadership of the vi head nurses and all transformational leadership dimensions were also high. The overall level of individual nurses’ emotional intelligence was high, though scores for two of four dimensions, use of emotion and others’ emotion appraisal, were moderate. The level of overall organizational justice and its two dimensions, namely procedural and distributive justice, were moderate. 2. Multiple regression analysis results indicated that transformational leadership and emotional intelligence were significant predictors of workplace social capital, explaining a total of variance of 48.6% of workplace social capital (R2 = 48.6, F = 160.936, P = .00). The strongest predictor was transformational leadership (β = .656, P = .000), followed by emotional intelligence (β = .096, P = .022). Other factors, including organizational justice, work unit size, professional position, education level, years in current unit and monthly income, were not be a predictor of workplace social capital (P > .05). The findings of this study provide suggestions for nursing administrators and health policy makers to develop appropriate strategies to enhance workplace social capital for nurses.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleFactors Influencing Workplace Social Capital of Nurses in Zhejiang Province, the People’s Republic of Chinaen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อต้นทุนทางสังคมในที่ท างานของพยาบาล ในมณฑลเจอ้เจียง สาธารณรัฐประชาชนจีนen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractต้นทุนทางสังคมในที่ท างานของพยาบาลเป็นเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ถูกก าหนดโดยการมี ปฏิสัมพันธ์ที่เคารพนับถือซึ่งกันและกันของพยาบาลวิชาชีพและระหว่างบุคลากรด้านสุขภาพอื่น ๆ วัตถุประสงค์ของการศึกษาการวิจัยเชิงพรรณนาแบบท านายในครั้งนี้คือการศึกษาระดับของต้นทุน ทางสังคมในที่ทา งาน ภาวะผนู้า การเปลี่ยนแปลง ความฉลาดทางอารมณ์และความยุติธรรมในองคก์ร และทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อต้นทุนทางสังคมในที่ท างานตามการรับรู้ของพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง ประกอบดว้ย พยาบาลจีนจา นวน 384 คนที่ทา งานในโรงพยาบาลตติยภูมิ 3 แห่งในเมืองลิชุย มณฑล เจอ้เจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัด แบบต้นทุนทางสังคมในที่ท างานฉบับย่อ (โคโวแนน และคณะ, 2006) แบบวดัการปฎิบตัิภาวะผนู้า (โพสเนอร์ และ คูส, 1988) แบบวดัความฉลาดทางอารมณ์ (วองค์ และ ลอว์, 2002) แบบวดัการความ ยุติธรรมในองค์กร (โคลควิท, 2011) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของครอนบาคของแบบวัดแบบ ต้นทุนทางสังคมในที่ท างานฉบับย่อ แบบวัดการปฏิบัติภาวะผู้น า แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์และ แบบวัดการความยุติธรรมในองค์กรเท่ากับ .89, .98, .93 และ .95 ตามลา ดบั วิเคราะห์ขอ้มูลใช้การ วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนในการทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลของต้นทุนทางสังคม ในที่ทา งาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับต้นทุนทางสังคมในที่ท างานของพยาบาลโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง ภาวะผูน้า การเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าพยาบาลโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูงเช่นกัน ระดับ ความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมของพยาบาลและด้านในระดับสูง แต่ในด้านการใช้อารมณ์และด้าน การประเมินอารมณ์ของผู้อื่นอยู่ในระดับปานกลาง ระดับความยุติธรรมในองค์กรโดยรวมและใน ด้านกระบวนการและการกระจายความยุติธรรมอยู่ในระดับปานกลาง 2. ผลการวิเคราะห์โดยใช้สถิติถดถอยพหุคูณแสดงให้เห็นว่าภาวะภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง และความฉลาดทางอารมณ์เป็นตวัทา นายที่ส าคญัของตน้ทุนทางสังคมในที่ทา งาน ซ่ึงอธิบายอา นาจ ในการทา นายโดยรวมของตน้ทุนทางสังคมในที่ทา งานไดร้้อยละ 48.6 (R2 = 48.6, F = 160.936, P = .000) ตัวทา นายที่มีอา นาจทา นายดีที่สุดคือภาวะผูน้า การเปลี่ยนแปลง (β = .656, P = .000) ตามดว้ยความ ฉลาดทางอารมณ์ (β = .096, P = 0.022) ส่วนปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ ความยุติธรรมในองค์กร ขนาดของ หน่วยงาน ต าแหน่งของวิชาชีพ ระดับการศึกษา จ านวนปีในการท างานในหน่วยปัจจุบนั และรายได้ ต่อเดือนไม่สามารถท านายต้นทุนทางสังคมในที่ท างานได้ (P > .05) ผลการศึกษาครั้งนี้ให้ข้อเสนอแนะส าหรับผู้บริหารการพยาบาลและผู้ก าหนดนโยบายสุขภาพ ในการพัฒนากลยุทธ์ที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมต้นทุนทางสังคมในที่ท างานส าหรับพยาบาลen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601255801 Xu Jiamin.pdf4.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.