Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ. เทียม ศรีคาจักร์-
dc.contributor.advisorรศ.ดร. สุจิตรพร เลอศิลป์-
dc.contributor.authorนัชชา ชัยคาหล้าen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T01:59:23Z-
dc.date.available2020-08-12T01:59:23Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69512-
dc.description.abstractThis study aimed to develop of Sensory Patterns Assessment for 3-12 Year Children and to examine psychometric properties of the developed assessment including content validity, construct validity, internal consistency and intra-rater reliability. The sample were the students who were studying in early childhood program and grade 1-6 in Chiangmai primary education service area Office 1. The multi-stage sampling was used to select 408 participants. An instrument was Sensory Patterns Assessment for 3-12 Years Children. Teachers were informants who recorded the frequency of students’ behavior in their classes expressed into 6 categories: visual, auditory, olfactory and taste, vestibular, tactile, proprioceptive and 4 patterns, Low Registration, Sensory Seeking Sensory Sensitivity, and Sensory Avoiding. Results revealed that the index of congruence (IOC) was between 0.8-1.0. The Cronbach's alpha is equal to 0.97. The intra-rater reliability (ICC) was 0.96. The results of construct validity using factor analysis revealed that Sensory Patterns Assessment consists of 106 questions. The Cronbach's alpha is equal to 0.97. The intra-rater reliability (ICC) was 0.92. This indicates that the tool can be evaluated sensory patterns for 3-12 Year Children.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก สาหรับเด็ก อายุ 3-12 ปีen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Sensory Patterns Assessment for 3-12 Year Childrenen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกสาหรับเด็ก อายุ 3-12 ปี และตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน โดยการทดสอบหาค่าความตรงเชิงเนื้อหา ความตรงเชิงโครงสร้าง และค่าความเที่ยง ด้วยวิธีการทดสอบความสอดคล้องภายใน และความเที่ยงภายในผู้ประเมิน ทาการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย และระดับชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีอายุ 3-12 ปี ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 408 คน แบบประเมินที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินรูปแบบการรับความรู้สึก สาหรับเด็กอายุ 3-12 ปี โดยให้ครูเป็นผู้บันทึกความถี่ของพฤติกรรมเด็กที่แสดงออกตามระบบการรับความรู้สึก 6 ด้าน ได้แก่ ด้านการมองเห็น การได้ยิน การรับกลิ่นและรับรส กายสัมผัส การทรงตัว และกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ โดยแบ่งพฤติกรรมการรับความรู้สึกเป็น 4 รูปแบบ ได้แก่ พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้า พฤติกรรมแสวงหาสิ่งเร้า พฤติกรรมไวต่อสิ่งเร้า และพฤติกรรมแบบหลีกหนีสิ่งเร้า ผลการศึกษาพบว่าแบบประเมินฉบับใหม่ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) ระหว่าง 0.8-1.0 และมีค่า Cronbach’s alpha ทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 และค่าความเที่ยงภายในผู้ประเมิน มีค่า ICC ทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 และจากการทดสอบความตรงเชิงโครงสร้าง ด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ พบว่าแบบประเมินประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 106 ข้อ มีค่า Cronbach’s alpha ทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 และค่าความเที่ยงภายในผู้ประเมิน มีค่า ICC ทั้งฉบับเท่ากับ 0.92 บ่งชี้ว่าแบบประเมินสามารถนามาประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกในเด็กอายุ 3-12 ปีได้en_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601131030 นัชชา ชัยคำหล้า.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.