Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69502
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทิพวรรณ ลาภยศen_US
dc.date.accessioned2020-08-11T02:25:35Z-
dc.date.available2020-08-11T02:25:35Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69502-
dc.description.abstractThis independent study aimed to examine professional accounting skills of students at vocational colleges in northern region. Data were gathered by questionnaires distributed to 320 students, who were studying in the 2nd year of accounting program in high vocational certificate level and who already passed the internship in the 3rd semester, from 8 vocational colleges in northern region. Data as obtained from the questionnaires were analyzed by the descriptive statistics: frequency, percentage, and mean. Results of the study on opinions of the accounting students on levels of their internship learning Outcomes presented that after taking on an internship, they agreed that their learning outcomes in Cognitive Domain was rated at high level; while their learning outcomes in Psychomotor and Affective Domains were rated at the highest level. Regarding their opinions ou levels of professional accounting skills, they agreed that their professional accounting skills in selfmanagement and organizational management skills were increased at the highest level. They, however, agreed that although their intellectual skill and interpersonal relations and communication skill had higher level in mean value, their professional skills in these aspects were fixed at the previous level The students agreed that the learning outcomes that they gained at the highest level were e the Psychomotor Domain i.e capacity to work actively, effectively, and proficiently and the Affective Domain i.e to have interest and willingness to work in accounting career, to accept opinions and working process of an organization, and to integrate and organize working values gained from learning outcomes to the real practice in order to increase self-worth. Hereafter were shown elements of professional accounting skills that the students gained at the highest level. In self-management skill, the elements that they gained included to be open to the ideas of others, to determine the clear goal, to seek for challenges and good planning to achieve the goal, and to have an ability to adjust themselves to others. In interpersonal relations and communication skill, the elements that they gained included to cooperate well with others and to work in team to achieve the organization goal and to have an ability to communicate to others with easy-to-understand, accurate, and straight-to-the point communication. In organizational management skill, the elements that they gained included to finish the assigned tasks within the required timeframe and to apply appropriate tools and technologies with a certain task in order to increase work effectiveness and efficiency. The findings also revealed that the students who took the internship at a specific organization as advised by the college gained the professional accounting skills: self-management, interpersonal relations and communication, and organizational management at higher level than those who found an organization to take their internship by themselves.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleทักษะทางวิชาชีพบัญชีของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา ในเขตภาคเหนือen_US
dc.title.alternativeProfessional Accounting Skills of Students at Vocational Colleges in Northern Regionen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะทางวิชาชีพบัญชีของนักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาในเขตภาคเหนือ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จานวน 320 ราย ผู้ตอบ แบบสอบถามเป็นนักศึกษาที่เรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 ที่ผ่าน การฝึกงานในภาคเรียนที่ 3 สาขาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาในเขตภาคเหนือ จา นวน 8 วิทยาลัย ทาการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย จากการศึกษา ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาการบัญชีต่อระดับผลการเรียนรู้ของ การฝึกงาน พบว่า หลังการฝึกงาน นักศึกษามีผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยอยู่ในระดับมาก ด้านทักษะพิสัยและด้านจิตพิสัยอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาต่อระดับ ทักษะทางวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี พบว่า นักศึกษาเห็นว่าตนเองมีระดับทักษะ ทางวิชาชีพสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่เพิ่มขึ้นในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการจัดการตนเอง และด้านการจัดการองค์กร ส่วนด้านทักษะทางปัญญา และด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ การสื่อสารมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นแต่ทักษะทางวิชาชีพยังอยู่ในระดับเดิม ทั้งนี้ นักศึกษาเห็นว่าตนมีระดับผลการเรียนรู้ในระดับมากที่สุด ประกอบด้วย ด้านทักษะ พิสัย ได้แก่ ความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างคล่องแคล่ว ความสามารถใน การปฏิบัติงานใหม่ ได้เป็นอย่างดีและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านจิตพิสัย ได้แก่ ความสนใจ และเต็มใจในการทา งานด้านบัญชี การยอมรับความคิดและกระบวนการทา งานของหน่วยงานและ การนาเอาคุณค่าของการทางานที่เกิดจากการเรียนรู้มาผสมผสานและจัดระเบียบเข้าด้วยกัน เพื่อเสริมสร้างคุณค่าให้กับตนเองพร้อมนามาปฏิบัติ ทักษะย่อยทางวิชาชีพสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่เพิ่มมากที่สุด ทักษะย่อยด้านการจัดการตนเอง ได้แก่ การเปิดใจรับฟังความคิด การกาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน การค้นหาความท้าทายและการวางแผนเพื่อบรรลุเป้าหมาย และความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น ทักษะย่อยด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการสื่อสารที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ การให้ความร่วมมือและการทางาน เป็นทีมเพื่อให้ปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายขององค์กร และความสามารถในการสื่อสารให้ผู้อื่น เข้าใจง่าย ถูกต้อง ตรงประเด็น ส่วนทักษะย่อยด้านการจัดการองค์กรที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จภายในกาหนดเวลา และการนาเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล นักศึกษาที่วิทยาลัยหาที่ฝึกงานให้ มีทักษะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้นหลังฝึกงานในระดับ ที่มากกว่านักศึกษาที่หาสถานที่ฝึกงานเอง ทั้งด้านการจัดการตนเอง ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการสื่อสาร และด้านการจัดการองค์กรen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532181 ทิพวรรณ ลาภยศ.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.