Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69486
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.สุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทศพล มูลมณี-
dc.contributor.authorจุฑามาศ นิลพันธ์en_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:36:54Z-
dc.date.available2020-08-10T01:36:54Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69486-
dc.description.abstractThis research was aimed to 1) study about basic personal characteristics, economic conditions and society of agricultural extension officers, 2) study about the training needs to develop the potential of agricultural extension officers, 3) comparative analysis in training needs of agricultural extension officers in the upper northern region with different basic personal characteristics, economic and social conditions. and 4) study about suggestions for training management. The population used in this research has 2 groups, 1) 215 agricultural extension officers in operational level at upper northern provinces, the formula of Taro Yamane used to determine the size of the sample being studied with 0.05 acceptable levels of tolerance, take random by simple random sampling, which resulted of 140 agricultural extension officers for sample to conducting this study. 2) 8 provincial administrators of agricultural offices in the upper north region. Data were collected by using in-depth interview for executive level about training management suggestions, and used questionnaires for operational level. Data were analyzed using descriptive statistics include frequency, percentage, mean, maximum, minimum and standard deviation. t-test and F-test within Scheffe’ Test was used to the hypothesis. The study indicated that most of them were female (60%), average age 32.59 years, 70.7% graduated with a bachelor's degree of Science in Plant, 70.7% work at affiliated of the District Agriculture office, and average work is 2.36 years. Average responsible 1,529.25 farm households per 1 official average salary of 17,557.07 THB, and debt more than 50,001 THB. From this study, agricultural extension officials had highest level need in training for working knowledge (x̅= 4.23). highest level in working skill training (x̅= 4.29). and high level in working attitude training (x̅= 4.17). In overall, agricultural extension officers need training at the highest level (x̅= 4.24). The hypothesis test found that agricultural extension officers with different gender had three different job skills training needs, 1) English for Basic/Advance Communication 2) Using Corel Video Studio Pro X10 for agricultural promotion media and 3) Using QGIS for making map. Agricultural extension officers with different age had one different work attitude training needs, the thinking adjustment as a good agricultural promoter. Agricultural extension officers with different graduation had two different working knowledge training needs. 1) Important economic crop production of the upper northern region 2) Techniques for visiting farmers. And they had one different work attitude training needs, how to be a good officer. Agricultural extension officers with different work group had one different working knowledge training needs, the knowledge of plant protection with statistical significance (p<0.05). However, the officers who had difference salary and education faculties are not difference in training needs for potential development. As for the suggestions of training management, the training programs of agricultural extension officers should focus on the competency program to builds the capability of agricultural extension officers as the Department of Agricultural Extension specified, and emphasizes practical training courses that could be practiced. The training programs should have speakers who have communicate techniques for easy understanding and expertise in the training. There should have both internal and external speakers of the Department of Agricultural Extension together. Training programs should be arranged about 3 times / year. However, the suitable month for the training programs is during May, October, November cause of there are not too much workload in the area.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรen_US
dc.subjectความต้องการฝึกอบรมen_US
dc.subjectภาคเหนือตอนบนen_US
dc.titleความต้องการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ในเขตภาคเหนือตอนบนen_US
dc.title.alternativeTraining Needs for Development of Agricultural Extension Officers' Potential in the Upper Northern Regionen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล สภาพเศรษฐกิจ และสังคมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 2) ศึกษาความต้องการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 3) วิเคราะห์เปรียบเทียบความต้องการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคเหนือตอนบน ที่มีลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล สภาพเศรษฐกิจและสังคม บางประการที่แตกต่างกัน และ 4) ศึกษาข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการฝึกอบรม ประชากรที่ใช้ ในการวิจัยครั้งมี 2 กลุ่มคือ 1) เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับปฏิบัติการในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนบน จานวน 215 ราย และได้กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ทาการศึกษาโดยใช้สูตรของ Taro Yamane ที่ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ 0.05 และโดยสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ซึ่งได้กลุ่มตัวอย่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่ทาการศึกษาในครั้งนี้ จานวน 140 ราย และผู้บริหารสานักงานเกษตรจังหวัด 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน จานวน 8 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสานักงานเกษตรจังหวัดเกี่ยวกับข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการฝึกอบรม และใช้แบบสอบถามกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้วิธี t-test และ F-test โดยวิธีของ Scheffe’ Test ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรโดยส่วนใหญ่ ร้อยละ 60.0 เป็นเพศหญิงมีอายุเฉลี่ย 32.59 ปี มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่ ร้อยละ 70.7 จบวุฒิการศึกษาสาขาที่มีพื้นฐานทางการเกษตร และส่วนใหญ่ ร้อยละ 70.7 ปฏิบัติงานอยู่สังกัดสานักงานเกษตรอาเภอ มีอายุราชการเฉลี่ย 2.36 ปี เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรต้องดูแลรับผิดชอบครัวเรือนเกษตรกรเฉลี่ยคนละ1,529.25 ครัวเรือน มีอัตราเงินเดือนเฉลี่ย 17,557.07 บาท และมีจานวนหนี้สินมากกว่า 50,001 บาท การศึกษาความต้องการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร มีความต้องการฝึกอบรมด้านความรู้ในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด (x̅= 4.23) ด้านทักษะในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ มากที่สุด (x̅= 4.29) และด้านเจตคติในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก (x̅= 4.17) โดยภาพรวมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรมีความต้องการฝึกอบรมระดับมากที่สุด (x̅= 4.24) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่มีเพศแตกต่างกัน มีความต้องการฝึกอบรมแตกต่างกันด้านทักษะในการปฏิบัติงาน จานวน 3 ประเด็น คือ 1) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น /Advance 2) การใช้โปรแกรมตัดต่อ Corel Video Studio Pro X10 เพื่อการผลิตสื่อส่งเสริมการเกษตร และ3) การใช้โปรแกรม QGIS เพื่อจัดทาแผนที่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่มีอายุแตกต่างกันมีความต้องการฝึกอบรมแตกต่างกันด้านเจตคติใน การปฏิบัติงาน จานวน 1 ประเด็น คือ การปรับกระบวนทัศน์การเป็นนักส่งเสริมการเกษตรที่ดี เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความต้องการฝึกอบรมแตกต่างกันด้านความรู้ในการปฏิบัติงาน จานวน 2 ประเด็น คือ การผลิตพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของภาคเหนือตอนบน และเทคนิคการเยี่ยมเยียนเกษตรกร และมีความต้องการฝึกอบรมแตกต่างกันด้านเจตคติใน การปฏิบัติงาน จานวน 1 ประเด็น คือการเป็นข้าราชการที่ดี และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่มี กลุ่มงานที่รับผิดชอบแตกต่างกันมีความต้องการฝึกอบรมที่แตกต่างกันด้านความรู้ในการปฏิบัติงาน จานวน 1 ประเด็น คือ องค์ความรู้ด้านอารักขาพืช อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่มีอัตราเงินเดือนและวุฒิการศึกษาสาขาที่แตกต่างกันมีความต้องการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพไม่แตกต่างกัน สาหรับข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการฝึกอบรม คือ การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรควรเน้นหลักสูตรที่สร้างสมรรถนะการเป็นเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรตามที่กรมส่งเสริมการเกษตรกาหนด และให้เน้นการฝึกปฏิบัติสาหรับหลักสูตรที่สามารถฝึกปฏิบัติได้จริง การจัดฝึกอบรมควรมีวิทยากรที่มีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ให้เข้าใจง่ายและมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่ฝึกอบรม ควรมีทั้งวิทยากรจากภายในและภายนอกหน่วยงานของกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกัน ควรจัดฝึกอบรมประมาณ 3 ครั้ง/ปี ทั้งนี้เดือนที่เหมาะสมกับการฝึกอบรมคือช่วง เดือนพฤษภาคม ตุลาคม และพฤศจิกายน เนื่องจากมีภาระงานในพื้นที่ไม่มากจนเกินไปen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600832017 จุฑามาศ นิลพันธ์.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.