Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69482
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Professor Dr. Warunee Fongkaew | - |
dc.contributor.advisor | Assistant Professor Dr. Nongkran Viseskul | - |
dc.contributor.advisor | Assistant Professor Dr. Sumalee Lirtmunlikaporn | - |
dc.contributor.author | Kananit Sanghirun | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-10T01:36:23Z | - |
dc.date.available | 2020-08-10T01:36:23Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69482 | - |
dc.description.abstract | Family plays an important role in promoting sexual and reproductive health (SRH) among early adolescents. The purpose of this descriptive qualitative study was to explore family functioning related to SRH in early adolescents. Purposive sampling and snowball techniques were used to recruit 28 biological parents of early adolescents aged 10-13 years from 14 families. Family interviews with both mothers and fathers were conducted using a family interview guide. Data were analyzed using thematic analysis. Findings can be categorized into four categories: 1) parental perceptions of the growing child, including children are not ready to know about sex, having appropriate gender roles, sexual growth and changes in teenagers, and focus on good genital hygiene; 2) parenting practices to promote sexual health, including playfully monitoring teenage friendships, warnings about the negative consequences of premarital sex, observing changes during puberty, giving advice during pubertal changes, teaching genital hygiene practices, and raising children to act appropriate to their gender; 3) support for nurturing sexual growth, which includes having adequate knowledge about sexual health, comfort with family communication about sex, and raising children with love and warmth; and 4) constraints of raising a growing teenager, which includes being ashamed of talking about sex and lack of knowledge and skills about sexual health. The findings of this study provide essential knowledge about how to empower parents to have adequate knowledge and skills to nurture their growing teenagers with regards to SRH. This can contribute to the development of an intervention for parents to promote SRH among early adolescents. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Family Functioning Related to Sexual and Reproductive Health in Early Adolescents | en_US |
dc.title.alternative | การทำหน้าที่ของครอบครัวที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในเด็กวัยรุ่นตอนต้น | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ครอบครัวมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ของเด็กวัยรุ่นตอนต้น การใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำหน้าที่ของครอบครัวที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในเด็กวัยรุ่นตอนต้น เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบเจาะจงและแบบสโนว์บอล กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ปกครองของวัยรุ่นอายุ 10 ถึง 13 ปี จำนวน 28 คน จาก 14 ครอบครัว รวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ครอบครัวร่วมกันทั้งมารดาและบิดา ตามแนวคำถามสัมภาษณ์ครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการใช้การวิเคราะห์แก่นสาระ ผลการศึกษาสามารถจัดกลุ่มได้เป็น 4 ประเด็นหลัก ประกอบด้วย 1) การรับรู้ของบิดามารดาเกี่ยวกับการเติบโตเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ประกอบด้วย เด็กไม่พร้อมที่จะเรียนรู้เรื่องเพศ การวางตัวให้เหมาะสมกับบทบาททางเพศ พัฒนาการทางเพศและการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และการมุ่งเน้นที่สุขอนามัยทางเพศ 2) การปฏิบัติของบิดามารดาเพื่อส่งเสริมสุขภาพทางเพศ ประกอบด้วย การใช้วิธีการหยอกล้อในการติดตามการคบเพื่อนวัยรุ่น การเตือนเกี่ยวกับผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การสังเกตการเปลี่ยนแปลงในช่วงเข้าสู่วัยรุ่น การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสอนเกี่ยวกับการดูแลอวัยวะเพศ และการเลี้ยงดูที่เหมาะสมตามเพศสภาพ 3) สิ่งสนับสนุนในการส่งเสริมพัฒนาการทางเพศ ประกอบด้วย มีความรู้ที่เพียงพอเกี่ยวกับสุขภาพทางเพศ ความสะดวกใจในการพูดคุยเรื่องเพศในครอบครัว และการเลี้ยงดูเด็กด้วยความรักและความอบอุ่น และ 4) ข้อจำกัดของการเลี้ยงดูบุตรที่กำลังเข้าสู่วัยรุ่น ประกอบด้วย ความละอายในการพูดคุยเรื่องเพศ และการขาดความรู้และทักษะเกี่ยวกับสุขภาพทางเพศ ผลการศึกษาครั้งนี้ ให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการสร้างเสริมพลังอำนาจให้บิดามารดามีความรู้และทักษะที่เพียงพอในการเลี้ยงดูบุตรที่กำลังเติบโตเข้าสู่วัยรุ่นในประเด็นสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาโปรแกรมสำหรับบิดามารดาเพื่อส่งเสริมสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในบุตรวัยรุ่นตอนต้น | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
571255903 คณานิตย์ แสงหิรัญ.pdf | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.