Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69478
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศำสตรำจำรย์ ดร.นคร ทิพยำวงศ์-
dc.contributor.authorขจรศักดิ์ อ่อนลำเนำว์en_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:35:52Z-
dc.date.available2020-08-10T01:35:52Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69478-
dc.description.abstractIncreasing consumption of fossil fuels is posing risk to Thailand since non-renewable fossil fuel sources are depleted rapidly. Low carbon energy is becoming more attractive. Used cooking oils from food processing are excessively available and usually disposed of as wastes. These waste oils may be upgraded to biofuels via catalytic cracking, which is regarded as a popular method for producing light hydrocarbons similar to petroleum derived fuels. In this study, catalytic cracking experiments were carried in a fixed bed reactor with mixed catalyst (ZSM-5 and Y-Re-16). Three operating parameters were considered; reaction temperature (300 to 500๐C), catalyst to oil ratio (5 to 20 %w/w), and ZSM-5 to Y-Re-16 catalyst mixture ratio (0 to 100 %w/w). The objective of this study was to evaluate influence of operating parameters on yields of organic liquid product from catalytic cracking of used cooking oil. The optimum condition was at 300๐C, 5%w/w catalyst loading, and ratio of ZSM-5 to Y-Re-16 as 97:3. The result showed the maximum yield of 84.84% consisting of gasoline 12.11%, kerosene 8.95%, and diesel 71.43%.The physical properties of liquid product were found to be in range similar to commercial diesel in Thailanden_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleกำรผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภำพจำกกำรแตกตัวของน้ำมันพืชใช้แล้วด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำแบบผสมทำงกลen_US
dc.title.alternativeBiofuel Production from Catalytic Cracking of Used Cooking Oil with Mechanically Mixed Catalystsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractควำมต้องกำรใช้พลังงำนฟอสซิลในประเทศมีเพิ่มขึ้นและอำจทำให้เกิดปัญหำได้เนื่องจำกพลังงำนจำกฟอสซิลเป็นพลังงำนที่ใช้แล้วหมดไปและทำให้เกิดมลภำวะทำงอำกำศได้ ในทำนองเดียวกันน้ำมันพืชใช้แล้วก็มีจำนวนมำกและมีกำรเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำมันใช้แล้วที่ไม่ควรนำกลับมำใช้ใหม่เป็นจำนวนมำก จึงควรมีกำรนำน้ำมันพืชใช้แล้วมำผลิตเป็นน้ำมันชีวภำพ กำรแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำเป็นกระบวนกำรที่นิยมมำกในกำรผลิตสำรไฮโดรคำร์บอนมวลเบำซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน้ำมันปิโตรเลียม ในงำนวิจัยนี้ได้ทำกำรทดลองกำรแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำแบบผสมทำงกล(ZSM-5 กับ Y-Re-16) ของน้ำมันพืชใช้แล้วในเตำปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง โดยมีตัวแปรควบคุม 3 ตัวได้แก่ อุณหภูมิกำรทำปฏิกิริยำ(300-500๐C), ปริมำณตัวเร่งปฏิกิริยำ(5-20%w/w), และอัตรำส่วนผสมของตัวเร่งปฏิกิริยำ 2 ชนิด(0-100%w/w) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำอิทธิพลของแต่ละตัวแปรต่อปริมำณผลิตภัณฑ์เหลว โดยจำกกำรทดลองพบว่ำตัวแปรควบคุมที่เป็นอิทธิพลหลักในกำรแตกตัวของน้ำมันพืชใช้แล้วคืออุณหภูมิทำปฏิกิริยำและปริมำณตัวเร่งปฏิกิริยำ และเงื่อนไขที่ดีที่สุดในกำรทดลองคือที่อุณหภูมิ 300๐C, ปริมำณตัวเร่งปฏิกิริยำ 5%w/w, และอัตรำส่วนผสมของตัวเร่ง ZSM-5 97% ต่อ Y-Re-16 3% ซึ่งได้ปริมำณผลิตภัณฑ์เหลว 84.84% โดยแบ่งกลุ่มเป็นแก๊สโซลีน 12.11%, เคโรซีน 8.95%, และดีเซล 71.43% และมีคุณสมบัติทำงกำยภำพใกล้เคียงกันและอยู่ในเกณฑ์ของดีเซลในท้องตลำดประเทศไทยen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631065 ขจรศักดิ์ อ่อนลำเนาว์.pdf11.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.